ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สรีดภงส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
}}
 
'''สรีดภงส์'''<ref>ฌ็อฌ เซเด. (2477). ''จารึกพ่อขุนรามคำแหงกับคำอธิบายของหลวงวิจิตรวาทการ.'' พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. หน้า 22-23.</ref> หรือ '''สรีดภงษ์''', '''ทำนบพระร่วง'''<ref>[http://www.sac.or.th/databases/archaeology/archaeology/%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B9%8C-%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87 เขื่อนสรีดภงส์ ทำนบพระร่วง | ฐานข้อมูลแหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย] .สืบค้นเมื่อ 06/01/2562</ref> คือ ทำนบกั้นน้ำหรือที่เรียกกันในปัจจุบันว่าเขื่อน เดิมคนท้องถิ่นตำบลเมืองเก่าที่มีลักษณะเป็นเขื่อนดินกั้นน้ำระหว่างเขาพระบาทใหญ่และเขากิ่วอ้ายมา [[อำเภอเมืองสุโขทัย]] [[จังหวัดสุโขทัย]] เรียกร่องรอยของคันดินโบราณเพื่อทำการกักเก็บน้ำไว้ใช้ในการชลประทานว่า '''ทำนบพระร่วง''' เนื่องจากกษัตริย์เกษตรกรรมและใช้สอยในเมือง[[สมัยสุโขทัย]]พระองค์ใดพระองค์หนึ่งเป็นผู้สร้างขึ้น จึงถือว่าเป็นของที่พระร่วงทำขึ้นหรือเกิดขึ้นด้วยอิทธิฤทธิ์ของพระร่วงทั้งสิ้น
 
== สถานที่ตั้ง ==
สรีดภงส์หรือทำนบพระร่วงอยู่ใน[[อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย]] โดยตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองเก่าทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตรงบริเวณที่ถูกขนาบด้วยภูเขาสองลูกเป็นรูปก้ามปู คือ เขาพระบาทใหญ่และเขากิ่วอ้ายมา ภูเขาทั้งสองลูกนี้อยู่ในทิวเขาหลวงด้านหลังตัวเมือง[[สุโขทัย]]โบราณ ลึกเข้าไปในทิวเขานี้เป็นซอกเขาอันเป็นต้นกำเนิดของทางน้ำเรียกว่า "โซกพระร่วงลองขรรค์"
 
เดิมคนท้องถิ่นตำบลเมืองเก่า [[อำเภอเมืองสุโขทัย]] [[จังหวัดสุโขทัย]] เรียกร่องรอยของคันดินโบราณเพื่อการชลประทานว่า '''ทำนบพระร่วง''' เนื่องจากกษัตริย์[[สุโขทัย]]พระองค์ใดพระองค์หนึ่งเป็นผู้สร้างขึ้น จึงถือว่าเป็นของที่พระร่วงทำขึ้นหรือเกิดขึ้นด้วยอิทธิฤทธิ์ของพระร่วงทั้งสิ้น
 
== สถาปัตยกรรม ==