ผู้ใช้นิรนาม
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 5:
คำประกาศอิสรภาพดังกล่าวอธิบายเอกราชของสหรัฐอเมริกาโดยลำดับความเดือดร้อนของอาณานิคมจาก[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าจอร์จที่ 3]] และโดยการยืนยัน[[สิทธิธรรมชาติ]] ตลอดจน[[สิทธิในการปฏิวัติ]] จุดประสงค์ดั้งเดิมของเอกสารในการประกาศอิสรภาพ แต่ทว่าข้อความของการประกาศอิสรภาพเดิมได้ถูกปฏิเสธไปหลังจาก[[การปฏิวัติอเมริกัน]] แต่ความสำเร็จของมันได้เพิ่มมากขึ้นตามกาลเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งประโยคที่สอง อันเป็นข้อความที่ครอบคลุมถึงสิทธิมนุษย์ปัจเจกชน:
'''''{{quote|เราถือว่าความจริงต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ประจักษ์แจ้งอยู่ในตัวเอง นั่นคือ มนุษย์ทุกคนถูกสร้างขึ้นมาอย่างเท่าเทียมกัน และพระผู้สร้างได้มอบสิทธิบางประการที่จะเพิกถอนมิได้ไว้ให้แก่มนุษย์ ในบรรดาสิทธิเหล่านั้นได้แก่ [[ชีวิต เสรีภาพและการเสาะแสวงหาความสุข]]}}'''''
ประโยคนี้ถูกเรียกว่าเป็น "หนึ่งในประโยคที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในภาษาอังกฤษ"<ref>Lucas, "Justifying America", 85.</ref> และ "คำที่มีอำนาจและผลกระทบมากที่สุดในประวัติศาสตร์อเมริกัน"<ref>Ellis, ''American Creation'', 55–56.</ref> และจากแนวคิดในการปกป้องสิทธิปัจเจกชนและกลุ่มคนชายขอบนี้เองที่มีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อ[[อับราฮัม ลินคอล์น]] ผู้ซึ่งพิจารณาว่าคำประกาศอิสรภาพดังกล่าวเป็นรากฐานของปรัชญาการเมืองของตน<ref name="McPherson126">McPherson, ''Second American Revolution'', 126.</ref>
|