ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
รัฐประหารดังกล่าวไม่มีการเสียเลือดเนื้อและไม่มีรายงานผู้ได้รับบาดเจ็บ ปฏิกิริยาตอบรับจากนานาชาติมีตั้งแต่การวิพากษ์วิจารณ์ในหลายประเทศ เช่น [[ประเทศออสเตรเลีย|ออสเตรเลีย]] การแสดงความความเป็นกลาง เช่น [[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] ไปจนการแสดงความผิดหวังอย่าง[[สหรัฐอเมริกา]] ซึ่งถือว่าประเทศไทยเป็น[[พันธมิตรนอกนาโต]] และว่า รัฐประหาร "ไม่มีเหตุผลยอมรับได้"<ref>Bangkok Post, [http://bangkokpost.net/breaking_news/breakingnews.php?id=113057 "United States: Thai coup 'unjustified'"], 21 September 2006</ref>
 
การรัฐประหารในครั้งนี้ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากเนื่องจากการที่คณะรัฐประหารได้เข้าเฝ้าในคืนนั้น โดย ประธานองคมนตรี ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เข้าเฝ้า [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] และ [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ในการที่นี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรมราชานุญาตให้ถ่ายทอดสดออก[[โทรทัศน์ในขณะที่คณะรัฐประหารเข้าเฝ้ารวมการเฉพาะกิจ]] ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
 
== เหตุการณ์ ==