ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์แสนซ้าย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หลวงสุมิตร (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
 
== การสถาปนา ==
'''ราชวงศ์เทพวงศ์''' หรือ '''ราชวงศ์แพร่''' ได้สถาปนาขึ้นโดยพระยาเทพวงศ์ ปฐมราชวงศ์แห่งเจ้าผู้ครองนครแพร่เชื้อสายเจ้าผู้ครองนคร 4 องค์สุดท้าย เป็นตระกูลใหญ่สืบเชื้อสายมาจากเชื้อเจ้าเจ็ดตน <ref name="เจ้าหลวง">{{อ้างอิงcite web|title=เจ้าหลวงเทพวงศ์ลิ้นตอง (ลิ้นทอง)|url=http://wungfon.com/index.php?option=com_content&view=article&id=670:2011-08-27-16-30-25&catid=142:2010-11-06-02-33-05&Itemid=184|publisher=วังฟ่อนดอตคอม|date= 17 กรกฎาคม 2554|accessdate= 9 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref> ที่ปกครองหัวเมืองต่าง ๆ ในภาคเหนือ หรือล้านนา พระยาเทพวงศ์เป็นราชโอรสในเจ้าฟ้าชายสามแห่งนครเชียงตุง (ไทยเขิน) พระยานครลำปางกาวิละ (ภายหลังได้ไปปกครองเมืองเชียงใหม่) ได้โปรดไปรับมาไว้ที่ลำปางเนื่องจากเป็นพระญาติกันภายหลังได้ส่งมาปกครองนครแพร่เมื่อ พ.ศ. 2348 พระยาเทพวงศ์ นี้เป็นเจ้าเมืองที่พูดจาไพเราะน่าฟัง พูดเก่ง พูดจาสิ่งใดใคร ๆ ก็เชื่อฟังหมดจนชาวเมืองให้การเคารพนับถือ จึงตั้งสมญานามว่า "เจ้าหลวงลิ้นตอง (ลิ้นทอง)" จนถึงรัชสมัย[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]] ปีพ.ศ. 2445 ได้เกิดความไม่สงบขึ้นในเมืองนครแพร่ โดยพวกไทใหญ่หรือเงี้ยวที่ได้เข้ามาอยู่อาศัยในเมืองนครแพร่ และทำมาหากินในการขุดพลอย ประเภทพลอยไพลินที่ตำบลบ่อแก้ว อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ในปัจจุบัน ได้ทำการก่อจลาจลในเมืองนครแพร่เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2445 จากเหตุการณ์ครั้งนี้ เจ้าหลวงนครแพร่ถูกกล่าวหาว่าคบกับพวกเงี้ยว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดให้ถอดจากยศตำแหน่ง ริบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งหมดคืน พระองค์จึงไปใช้ชีวิตบั้นปลายที่เมือง[[หลวงพระบาง]] [[ประเทศลาว]] และได้พำนักอยู่ที่นั่นจนกระทั่งพิราลัยในปี พ.ศ. 2455 แม้จนสุดท้ายแล้วถึงจะทรงพิโรธการเรียกร้องความไม่เป็นธรรมของเจ้าหลวงเมืองแพร่อย่างไรพระองค์ก็ทรงออกมาปกป้องว่า เจ้าหลวงพิริยะเทพวงษ์นั้น แม้จะกลับมาชิงบ้านเมืองคืนจริง ก็ไม่ใช่ความคิดของเจ้าหลวงแต่เป็นนโยบายของฝรั่งเศส{{อ้างอิง}} พระองค์ทรงให้เจ้านายทายาทเจ้าหลวงอยู่อย่างสงบสุขด้วยเจ้านายราชวงศ์จักรีที่ทรงวางใจคือ[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] มือขวาของพระองค์นั่นเอง ส่วนเจ้านายที่ถูกคาดโทษพระองค์ก็ให้ทำหน้าที่ปราบโจรผู้ร้ายชดใช้
 
ราชสกุลผู้สืบเชื้อสายเจ้าผู้ครองนครแพร่ มีทั้งหมด 31 ราชสกุล ถึงไม่มีราชสกุล ณ แพร่ แต่รวมกันเรียกว่า '''วงศ์วรญาติ''' เทียบเท่าราชสกุล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน ในหัวเมืองฝ่ายเหนือ
บรรทัด 92:
 
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เทพวงศ์]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ทิพย์จักร|ท]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดแพร่]]
[[หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2445]]