ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาคัลมึค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ภาษาคาลมึกซ์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น ภาษาคัลมึค
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
|fam3=ภาษากลุ่มคัลมึค-ออยรัต
|iso2=tut|iso3=xal}}
'''ภาษาคัลมึค (Kalmyk language; Хальмг келн)''' เป็นภาษากลุ่มมองโกเลีย กลุ่มย่อยคัลมึค-โอรัตออยรัต มีบางส่วนใกล้เคียงกับภาษากลุ่มเตอร์กิกและยูราลิกจนอาจจัดให้อยู่ในตระกูลอัลไตอิกหรือยูราล-อัลไตอิกได้ มีผู้พูด 500,000 คน ใน[[สาธารณรัฐคัลมืยคียา]]ของ[[รัสเซีย]] (ระหว่างวอลกาและ[[แม่น้ำดอน]]) ของ[[รัสเซีย]] และในภาคตะวันตกของ[[จีน]] และภาคตะวันตกของ[[มองโกเลีย]]
ภาษาคัลมึคเขียนด้วย[[อักษรอุยกูร์]]เมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 ต่อมาใน พ.ศ. 2191 พระภิกษุชาวคัลมึคชื่อ ซายา ปัณฑิต โอกตอร์กูอิน ทะไล ประดิษฐ์[[อักษรคัลมึค]]ขึ้นใช้ เรียกว่า Todo Bichig (การเขียนชัดเจน) โดยพัฒนามาจาก[[อักษรมองโกเลีย]]อักษรนี้ยังใช้อยู่ในประเทศจีนส่วนชาวคัลมึคในรัสเซียใช้[[อักษรซีริลลิก]]ตั้งแต่ พ.ศ. 2467 เริ่มใช้[[อักษรละติน]]เมื่อ พ.ศ. 2481 ส่วนในมองโกเลียไม่มีระบบการเขียน
ชาวคัลมึคถูกฆ่าตายมากในสงครามประชาชนของรัสเซีย ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการลดจำนวนชาวคัลมึคลง ทำให้ชาวคัลมึคจำนวนมากไม่พูดภาษาของตนเอง ภาษาคัลมึคได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2536 และกลับมามีการเรียนการสอนในโรงเรียน