ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 194:
 
== ประวัติ ==
 
=== ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก ===
 
ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 [[การบุกครองโปแลนด์]]ของเยอรมนีได้เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสประกาศสงครามต่อเยอรมนีในวันที่ 3 กันยายน ในวันเดียวกัน ประเทศเครือจักรภพประกาศสงครามเข้ากับสหราชอาณาจักรด้วยเช่นกัน ต่อมาประเทศบางส่วนในยุโรปตะวันตกได้เข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตรหลังจากถูกกองทัพเยอรมันเข้ามารุกราน ได้แก่ เดนมาร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม และลักเซมเบิร์ก
 
ในวันที่ 17 กันยายน สหภาพโซเวียตบุกครองโปแลนด์ทางทิศตะวันออก ต่อมา ในวันที่ 30 กันยายน สหภาพโซเวียต[[สงครามฤดูหนาว|โจมตีฟินแลนด์]] ภายในปีต่อมา สหภาพโซเวียตได้ผนวกเอาดินแดนของรัฐบอลติก ซึ่งประกอบด้วย[[เอสโตเนีย]] [[ลัตเวีย]]และ[[ลิทัวเนีย]] ต่อมาสนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี-โซเวียตยุติลงภายหลังจาก[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา|การรุกรานสหภาพโซเวียต]]ของนาซีเยอรมนี ในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 จึงได้เข้าร่วมฝ่ายกับสัมพันธมิตรและทำการต่อสู้ในแนวรบตะวันออก
 
ส่วนสหรัฐอเมริกาได้ตั้งอยู่ในสถานะความเป็นกลางไม่ยุ่งกับสงครามแต่คอยช่วยเหลือสนับสนุนสัมพันธมิตรและสหภาพโซเวียตด้วยการให้ทรัพยากรต่างๆและอาวุธยุโธปกณ์ต่างๆ แต่หลังจาก[[การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์]]ของจักรวรรดิญี่ปุ่นทำให้อเมริกาตัดสินใจเข้าร่วมสงคราม เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ต่อมาปฏิญญาแห่งสหประชาชาติในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1942 ซึ่งประกอบด้วยประเทศสมาชิกร่วมลงนามจำนวน 26 ประเทศ ถือได้ว่าเป็นประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรอย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม ประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรจำนวน 3 ประเทศ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตถือได้ว่าเป็น ''ผู้ยิ่งใหญ่ทั้งสาม'' อย่างไม่เป็นทางการ
 
=== ฝ่ายสัมพันธมิตรดั้งเดิม ===
เส้น 212 ⟶ 204:
 
ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันจากเครือข่ายสนธิสัญญาป้องกันร่วมกัน และสนธิสัญญาในความร่วมมือพันธมิตรทางการทหารก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ส่วนความร่วมมือกันระหว่างสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสสามารถย้อนไปได้ถึง [[ความเข้าใจระหว่างอังกฤษ-ฝรั่งเศส]] ในปี [[ค.ศ. 1904]] และ[[ฝ่ายไตรภาคี]] ในปี [[ค.ศ. 1907]] และดำเนินการร่วมกันในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ส่วน[[พันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์]]ได้รับการลงนาม ในปี[[ค.ศ. 1921]] ซึ่งได้รับการแก้ไขในปี [[ค.ศ. 1927]] และอีกครั้งในปี [[ค.ศ. 1939]] ส่วน[[บัญญัติป้องกันร่วมกันอังกฤษ-โปแลนด์]] ได้รับการลงนามในวันที่ 25 สิงหาคม 1939 ซึ่งประกอบไปด้วยสัญญาในการให้ความร่วมมือทางการทหารร่วมกันระหว่างชาติในกรณีถูกรุกรานโดยนาซีเยอรมนี
 
=== ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก ===
 
ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 [[การบุกครองโปแลนด์]]ของเยอรมนีได้เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสประกาศสงครามต่อเยอรมนีในวันที่ 3 กันยายน ในวันเดียวกัน ประเทศเครือจักรภพประกาศสงครามเข้ากับสหราชอาณาจักรด้วยเช่นกัน ต่อมาประเทศบางส่วนในยุโรปตะวันตกได้เข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตรหลังจากถูกกองทัพเยอรมันเข้ามารุกราน ได้แก่ เดนมาร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม และลักเซมเบิร์ก
 
ในวันที่ 17 กันยายน สหภาพโซเวียตบุกครองโปแลนด์ทางทิศตะวันออก ต่อมา ในวันที่ 30 กันยายน สหภาพโซเวียต[[สงครามฤดูหนาว|โจมตีฟินแลนด์]] ภายในปีต่อมา สหภาพโซเวียตได้ผนวกเอาดินแดนของรัฐบอลติก ซึ่งประกอบด้วย[[เอสโตเนีย]] [[ลัตเวีย]]และ[[ลิทัวเนีย]] ต่อมาสนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี-โซเวียตยุติลงภายหลังจาก[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา|การรุกรานสหภาพโซเวียต]]ของนาซีเยอรมนี ในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 จึงได้เข้าร่วมฝ่ายกับสัมพันธมิตรและทำการต่อสู้ในแนวรบตะวันออก
 
ส่วนสหรัฐอเมริกาได้ตั้งอยู่ในสถานะความเป็นกลางไม่ยุ่งกับสงครามแต่คอยช่วยเหลือสนับสนุนสัมพันธมิตรและสหภาพโซเวียตด้วยการให้ทรัพยากรต่างๆและอาวุธยุโธปกณ์ต่างๆ แต่หลังจาก[[การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์]]ของจักรวรรดิญี่ปุ่นทำให้อเมริกาตัดสินใจเข้าร่วมสงคราม เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ต่อมาปฏิญญาแห่งสหประชาชาติในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1942 ซึ่งประกอบด้วยประเทศสมาชิกร่วมลงนามจำนวน 26 ประเทศ ถือได้ว่าเป็นประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรอย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม ประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรจำนวน 3 ประเทศ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตถือได้ว่าเป็น ''ผู้ยิ่งใหญ่ทั้งสาม'' อย่างไม่เป็นทางการ
 
== ประเทศสมาชิกหลัก ==