ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเมืองลิทัวเนีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
อัพเดตขอมูลเล็กน้อย
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
อัพเดตข้อมุลและแปลชื่อพรรค
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
{{ต้นฉบับ}}
ปัจจุบันสถานภาพทางการเมืองของ[[ประเทศลิทัวเนีย]]ในสายตาของนานาชาตินั้นถือได้ว่า มีเสถียรภาพและเอื้ออำนวยต่อการค้าการลงทุน ภายหลังจากการถอนทหารรัสเซียออกจากลิทัวเนียตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม [[.ศ. 2539]] กอปรกับชนกลุ่มน้อยชาวรัสเซียในลิทัวเนียไม่มีบทบาทสำคัญทางการเมือง จึงส่งผลทำให้การบริหารบ้านเมืองของรัฐบาลลิทัวเนียในเรื่องชนกลุ่มน้อยค่อนข้างเป็นไปอย่างราบรื่น เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศบอลติกอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ลัตเวียและเอสโตเนีย
 
ระบบการเมือง มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ ภายใต้รัฐธรรมปัจจุบัน ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2535]]1992
 
* '''ประธานาธิบดี''' [[ดาลิอา กรีเบาส์ไกเต|นางสาวดาลิอา กรีเบาส์ไกเต]] (Miss Dalia Grybauskaitė) ตั้งแต่[[ 12 กรกฎาคม]] .ศ. 25522009
 
* '''นายกรัฐมนตรี''' นายอัลกีร์ดัสเซาลีอุส บราซาอุสคัสสคาเวนนาลิส (Mr. AlgirdasSaulius BrazauskasSkvernelis) ตั้งแต่กรกฎาคมวันที่ [[พ16 ธันวาคม ค.ศ. 2544]]2016
 
* '''รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ''' นายอันโตไลนัส แอนตานัส วาลิโอนิสลิงเคอวิคาลุส (Mr. Linas Antanas ValionisLinkevičius) ตั้งแต่[[ตุลาคม]] [[พ13 ธันวาคม ค.ศ. 2543]]2012
 
สถาบันทางการเมือง ลิทัวเนียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี รัฐสภาใช้ระบบสภาเดียว (Unicamera) เรียกว่า "ไซมาส" (Seimas) จำนวนสมาชิกสภาทั้งหมด 141 คน (71 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรง อีก 70 คน มาจากการเลือกตั้งแบบสัดส่วน) มีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี พรรคการเมืองจะต้องได้รับคะแนนเสียงเกินร้อยละ 4 จากการลงคะแนนเสียงทั่วประเทศ จึงจะมีสิทธิเข้าร่วมในรัฐสภา ยกเว้นพรรคที่มาจากชนกลุ่มน้อย คณะรัฐบาลดำรงตำแหน่งเท่ากับวาระของสมาชิกรัฐสภาเว้นแต่สมาชิกคณะรัฐบาลจะลาออก หรือรัฐสภาลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลด้วยเสียงข้างมากเด็ดขาด ประธานสภาเป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
 
=== พัฒนาการทางการเมือง ===
==== การเลือกตั้งประธานาธิบดีลิทัวเนียเมื่อเดือนมกราคม 25411990 ====
เมื่อวันที่ [[4 มกราคม]] [[พ.ศ. 2541]]1990 นายวัลดัส อะดัมคุส ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีลิทัวเนียคนใหม่ สืบแทนนายอัลกีร์ดัส บราซาอุสคัส ประธานาธิบดีคนเดิม ซึ่งไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้ง นายอะดัมคุส ได้รับการสนับสนุนจากพรรค Lithuanian Democrat และพรรค The Democratic Center Union
 
==== การเลือกตั้งทั่วไปเมื่อเดือนตุลาคม 25432000 ====
เมื่อวันที่ [[8 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2543]]2000 ลิทัวเนียได้จัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป ผลปรากฏว่าพรรค Liberal Union ภายใต้การนำของนายโรลันดัส ปัคซัส (Rolandas Paksas) อดีตนายกรัฐมนตรีได้รับเลือกตั้งในประเภทการเลือกตั้งโดยตรงมากที่สุด 18 ที่นั่ง จาก 71 ที่นั่ง สำหรับการเลือกตั้งตามอัตราส่วนบัญชีรายชื่อพรรคกลุ่ม Social Democratic Coalition ภายใต้การนำของนายอัลกีร์ดัส บราซาอุสคัส อดีตประธานาธิบดีลิทัวเนีย (ปี 2536-2541) ได้รับเลือกตั้งมากที่สุดจำนวน 28 ที่นั่ง จาก 70 ที่นั่ง สำหรับการจัดตั้งรัฐบาล รัฐสภาลิทัวเนียได้ให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งให้นายโรลันดัส ปัคซัส ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกวาระหนึ่ง โดยเป็นการจัดตั้งรัฐบาลผสมสี่พรรคเสียงข้างน้อยในสภา
 
==== การจัดตั้งรัฐบาลเมื่อเดือนกรกฎาคม 25442001 ====
เมื่อวันที่ [[20 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2544]]2001 นายโรลันดัส ปัคซัส ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากปัญหาความขัดแย้งระหว่างพรรคร่วมรัฐบาลในประเด็นเรื่องการแปรรูป
รัฐวิสาหกิจ และต่อมาเมื่อวันที่ [[3 กรกฎาคม 2544]]ค.ศ. 2001 รัฐสภาลิทัวเนียได้ลงมติเห็นชอบในการแต่งตั้งนายอัลกีร์ดัส บราซาอุสคัส อดีตประธานาธิบดีลิทัวเนีย ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสืบแทนตามที่ประธานาธิบดีอะดัมคุสได้เสนอชื่อ ในด้านการต่างประเทศ นายบราซาอุสคัสนายกรัฐมนตรี ได้ให้คำมั่นว่าจะดำเนินนโยบายต่างประเทศให้มีความต่อเนื่องโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป (EU) และสมาชิกองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO)
 
==== การเลือกตั้งประธานาธิบดีเมื่อเดือนมกราคม 25462003 ====
ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า นายโรลันดัส ปัคซัส อดีตนายกรัฐมนตรี ประสบชัยชนะ
ในการเลือกตั้งเหนือนายวัลดัส อะดัมคุส ซึ่งลงสมัครแข่งขันในสมัยที่ 2 โดยนายโรลันดัส ปัคซัส ได้รับคะแนนเสียงในรอบที่ 2 ร้อยละ 54.91 และเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสืบแทนนายวัลดัส อะดัมคุส เดือน[[กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2546]]2003
 
==== การถอดถอนประธานาธิบดีลิทัวเนีย ====
เมื่อวันที่ [[6 เมษายน]] .ศ. 25472004 รัฐสภาลิทัวเนียได้ลงมติเสียงข้างมากให้ถอดถอนประธานาธิบดีปัคซัส ออกจากตำแหน่ง (Impeachment) จากกระทำผิดในข้อหาละเมิดรัฐธรรมนูญ โดยมีข้อกล่าวหา 3 เรื่อง คือ การมอบสัญชาติลิทัวเนียให้แก่นักธุรกิจรัสเซียโดยมิชอบ การเปิดเผยข้อมูลลับของราชการ และการใช้อำนาจรัฐในการแทรกแซงธุรกิจของบริษัทเอกชนเพื่อผผลประโยชน์ส่วนตัว และตามรัฐธรรมนูญ ประธานรัฐสภา (นายอาร์ตูรัส ปาอูลาอุสคัส - Arturas Paulauskas) จะปฏิบัติหน้าที่แทนประธานาธิบดีชั่วคราวจนกว่า จะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีขึ้นใหม่
 
==== การเลือกตั้งประธานาธิบดีเมื่อเดือนมิถุนายน 25472004 ====
เมื่อวันที่ [[13 มิถุนายน]] .ศ. 25472004 คณะกรรมการการเลือกตั้งกลางของลิทัวเนียได้จัดให้มี
การเลือกตั้งประธานาธิบดีลิทัวเนียขึ้น ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า ไม่มีผู้สมัครรายใดได้รับคะแนนเสียงเกินร้อยละ 50 ของผู้ลงคะแนนเสียงทั้งหมด คณะกรรมการการเลือกตั้งกลางของลิทัวเนียจึงจำเป็นต้องจัดให้มีการเลือกตั้งรอบที่สองขึ้นภายในสองสัปดาห์ ตามที่กฎหมายลิทัวเนียกำหนดไว้ โดยเป็นการเลือกตั้งระหว่างผู้สมัครที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดเป็นลำดับที่ 1 และลำดับที่ 2 คือ นายวัลดัส อะดัมคุส อดีตประธานาธิบดีลิทัวเนียที่ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 25411998-25462003 และนางคาซีมีรา ดานูเต ปรุนสเคย์เน (Kazimira Danute Prunskeine) อดีตนายกรัฐมนตรีลิทัวเนียคนแรกภายหลังจากที่ลิทัวเนียได้รับเอกราชจากสหภาพโซเวียต
 
การเลือกตั้งประธานาธิบดีลิทัวเนียรอบที่ 2 มีขึ้นเมื่อวันที่ [[27 มิถุนายน]] .ศ. 25472004 เป็นการแข่งขันกันระหว่างผู้สมัคร 2 คนข้างต้น ผลการเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการปรากฏว่า นายวัลดัส อะดัมคุส ได้รับคะแนนเสียง 723,011 เสียง คิดเป็นร้อยละ 52.63 ขณะที่นางคาซีมีรา ดานูเต ปรุนสเคย์เน ได้รับคะแนนเสียง 650,766 เสียง คิดเป็นร้อยละ 47.37 จากผู้ลงคะแนนทั้งหมด 1,373,787 ราย นายวัลดัส อะดัมคุสได้สาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ [[12 กรกฎาคม]] 2547ค.ศ. 2004
 
==== การเลือกตั้งทั่วไป เมื่อเดือนตุลาคม 25472004 ====
เมื่อวันที่ [[10 ตุลาคม]] .ศ. 25472004 คณะกรรมการการเลือกตั้งกลางของลิทัวเนียได้จัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาลิทัวเนีย (Seimas) จำนวน 141 คน โดยแบ่งเป็นการเลือกตั้งโดยตรง 71 คน และการเลือกตั้งตามอัตราส่วนบัญชีรายชื่อพรรคอีก 70 คน ซึ่งมีวาระการดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 4 ปี ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พรรค Labourแรงงาน ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่โดยนายวิคตอร์ อุสปัสคิช (Victor Uspaskich) มหาเศรษฐีลิทัวเนียเชื้อสายรัสเซีย และมีผลงานที่ดีในการเลือกตั้งสมาชิกสภายุโรป ได้รับที่นั่งในการเลือกตั้งมากที่สุด 39 ที่นั่ง ขณะที่กลุ่มพันธมิตร "เราอุทิศเพื่อลิทัวเนีย" (We work for Lithuania) ซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาลเดิม ประกอบด้วยพรรค Social Democraticสังคมนิยมประชาธิปไตย และพรรค Social Liberalสังคมเสรีนิยม ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีอัลกีร์ดัส บราซาอุสคัส (Algirdas Brazauskas) และประธานรัฐสภา อาร์ตูรัส ปาอูลาอุสคัส (Arturas Paulaukas) เป็นหัวหน้าพรรคตามลำดับ ได้รับเลือกตั้งมาเป็นลำดับที่ 2 คือ 31 ที่นั่ง และพรรค Homeland Unionสหภาพแผ่นดินเกิด/ Conservative Partyพรรคอนุรักษ์นิยม ได้รับเลือกตั้งเป็นลำดับที่ 3 จำนวน 25 ที่นั่ง
 
เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2547ค.ศ. 2004 ประธานาธิบดีวัลดัส อะดัมคุส ได้ลงนามในกฤษฎีกาแต่งตั้งให้นายกรัฐมนตรีอัลกีร์ดัส บราซาอุสคัส หัวหน้าพรรค Social Democraticสังคมนิยมประชาธิปไตย เป็นนายกรัฐมนตรีสมัยที่ 2 และมอบหมายให้จัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่ให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน รัฐบาลลิทัวเนียชุดใหม่เป็นรัฐบาลผสม 4 พรรคการเมือง เสียงข้างมากในสภา ประกอบด้วย พรรค Social Democraticสังคมนิยมประชาธิปไตย พรรค Social Liberalสังคมเสรีนิยม พรรค Labourแรงงาน และพรรค Union of Peasant and New Democraticสหภาพชาวนาและประชาธิปไตยใหม่
 
[[หมวดหมู่:ประเทศลิทัวเนีย]]
 
[[en:Politics of Lithuania]]
[[lt:Lietuvos politinė sistema]]