ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผักกาดหัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 17:
|}}
 
'''ผักกาดหัว''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์| Raphanus sativus}} subsp. ''longipinnatus'') หรือชื่ออื่น ๆ เช่น '''หัวผักกาด''', '''หัวไช้เท้า''' หรือ '''หัวไชเท้า''' เป็นสปีชีส์ย่อยของ [[ผักกาดหัวสีแดง]] (''R. sativus'') <ref name="WebsterNinthNewCollege" /> ใน[[อาหารญี่ปุ่น]]หัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงใน[[ซีอิ๊ว]]และซอสต่างๆต่าง ๆ ใช้เป็นน้ำจิ้ม ใส่ในต้มเค็ม และนิยมต้มปลาหมึกสดกับผักกาดหัวเพื่อช่วยให้เนื้อปลาหมึกนุ่มน่ารับประทาน<ref name=หน้า>หน้า 22 เกษตร, ''ผักกาดหัว''. "เรื่องน่ารู้". '''เดลินิวส์'''ฉบับที่ 24,448: วันจันทร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2559 แรม 3 ค่ำ เดือน 10 ปีวอก</ref> ชาวจีนนำมาดองแล้วตากแห้งเป็น[[หัวไช้โป๊]] ใช้กินกับข้าวต้ม แกงจืดหรือผัดไข่ หัวผักกาดขาวสดในอาหารจีนใช้ใส่ในแกงจืด [[ขนมหัวผักกาด]] ในอาหารไทยใช้ทำแกงจืด [[แกงส้ม]] ใน[[อาหารกัมพูชา]]ใช้เป็นผักสด กินกับน้ำพริกปลาร้าผัด ใน[[อาหารพม่า]]นำไปทำ[[ส้มตำ]] ดองแล้วนำมายำ ใน[[อาหารเกาหลี]]ใช้ทำ[[กิมจิ]] ใน[[อาหารเวียดนาม]]ใช้ซอยใส่ในน้ำจิ้มต่างๆต่าง ๆ ใส่ในต้มจืด ต้มเค็ม<ref>นิดดา หงส์วิวัฒน์. หัวผักกาดขาว. ครัว. ปีที่ 20 ฉบับที่ 240 มิถุนายน 2557</ref>
 
ชาวจีนโบราณนำผักกาดหัวมาใช้รักษา[[โรคหัด]]ในเด็ก<ref name=หน้า/>