ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การก่อการกำเริบสปาตาคิสท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
}}
 
'''การก่อการกำเริบสปาตาคิสท์''' ยังเป็นที่รู้จักกันคือ '''การก่อการกำเริบเดือนมกราคม''' เป็น[[การนัดหยุดงานทั่วไป]] (และการต่อสู้รบด้วยอาวุธปืนประกอบไปด้วย) ในประเทศ[[เยอรมนี]] ตั้งแต่วันที่ 5 ถึง 12 มกราคม ค.ศ. 1919 เยอรมนีได้อยู่ในช่วงกลางของการปฏิวัติหลังสงคราม และสองเส้นทางที่ได้รับรู้ในความก้าวหน้าคือ [[ประชาธิปไตยสังคม]]หรือรัฐสภาสาธารณรัฐเช่นเดียวกับหนึ่งเส้นทางที่ถูกสร้างขึ้นโดย[[บอลเชวิค]]ใน[[การปฏิวัติเดือนตุลาคม|รัสเซีย]] การก่อการกำเริบครั้งนี้เป็นการต่อสู้แย่งชิงอำนาจระหว่าง[[พรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี]](SPD) ภายใต้การนำโดย[[ฟรีดริช เอเบิร์ท]] และกลุ่มคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงของ[[พรรคคอมมิวนิสต์เยอรมนี]]ภายใต้การนำโดย[[คาร์ล ลีพคเน็ชท์]]และ[[โรซา ลุคเซิมบวร์ค]] ที่ได้ก่อตั้งเมื่อก่อนหน้านี้และนำ[[สันนิบาติสปาตาคัส|สันนิบาติสปาตาคิสท์]](Spartakusbund) การต่อสู้แย่งชิงอำนาจครั้งนี้เป็นผลมาจากการสละราชสมบัติของราชบังลังก์ของ[[จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี]] และการลาออกของนายกรัฐมนตรี [[แม็ก ฟ็อน บาเดิน]] ซึ่งได้มอบอำนาจไปยังเอเบิร์ท ในฐานะที่เป็นผู้นำของพรรคที่ใหญ่ที่สุดในรัฐสภาเยอรมัน<ref>{{cite web| url=http://alphahistory.com/weimarrepublic/german-revolution/| author=Jennifer Llewellyn, Jim Southey and Steve Thompson| title=The German Revolution| publisher=Alpha History| date=2014}}</ref> การก่อการกำเริบที่คล้ายกันได้เกิดขึ้นและถูกปราบปรามในเบรเมิน, รูร์, ไรน์ลันท์, ซัคเซิน, ฮัมบวร์ค, ทือริงเงิน และบาวาเรีย และอีกครั้งของการสู้รบบนถนนที่รุนแรงกว่าที่เกิดขึ้นในกรุงเบอร์ลินในเดือนมีนาคม ซึ่งนำไปสู่ความท้อแท้อย่างกว้างขวางด้วย[[สาธารณรัฐไวมาร์|รัฐบาลไวมาร์]]
 
== อ้างอิง ==