ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหพันธรัฐฉาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล อดีตประเทศ
|native_name =
|conventional_long_name = สหพันธรัฐฉานชาน
|common_name = สหพันธรัฐฉานชาน
|continent = ทวีปเอเชีย
|region = เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
บรรทัด 14:
|year_end = พ.ศ. 2492
|date_end =
|p1 =รัฐฉานชาน
|flag_p1 =British Burma 1937 flag.svg
|s1 = พม่า
บรรทัด 23:
|image_coat =
|image_map = Map of Shan States1917.png
|image_map_caption =แผนที่รัฐฉานชานและกะเรนนีเมื่อ พ.ศ. 2460
|symbol =
|symbol_type =
บรรทัด 37:
|footnotes =
}}
{{ความหมายอื่น|ดินแดนในสมัยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ|รัฐฉานชานในปัจจุบัน|รัฐฉานชาน}}
'''สหพันธรัฐฉานชาน''' หรือ '''แคว้นสหรัฐไทยใหญ่'''<ref name="ราชกิจจานุเบกษา2">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=62|issue=55ง|pages=1446|title=ประกาศกรมบัญชาการทัพใหญ่ เรื่องยกเลิกประกาศบัญชาการทหารสูงสุด เรื่องเปลี่ยนชื่อแคว้นสหรัฐไทยใหญ่เป็นสหรัฐไทยเดิม|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2488/D/055/1446.PDF|date=2 ตุลาคม พ.ศ. 2488|language=ไทย}}</ref> (Federated Shan States) เป็นชื่อของหน่วยทางการบริหารใน[[จักรวรรดิอังกฤษ]] ครอบคลุมดินแดนของ[[รัฐฉานชาน]]และ[[รัฐกะเรนนี]]ในพม่าปัจจุบัน ในขณะที่อังกฤษเข้ามาปกครองพม่า การจัดตั้งสหพันธรัฐเป็นการเตรียมการเพื่อถ่ายโอนอำนาจของเจ้าฟ้ามาสู่รัฐบาลพม่า สถานะของเจ้าฟ้าภายในระบบนี้เทียบได้กับ[[ราชรัฐ]]ในอินเดียที่ได้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2431<ref>[http://books.google.co.th/books?id=emjivsbStD0C&pg=PA76&lpg=PA76&dq=%22Federated+Shan+States%22&source=bl&ots=Lb8kzNUuj6&sig=tZT5GthjCDlcFWZUGPVnmH-mfOs&hl=en&sa=X&ei=fosRVNrvHMOOuASYzYDADQ&ved=0CD8Q6AEwBTgK#v=onepage&q=%22Federated%20Shan%20States%22&f=false Chao Tzang Yawnghwe, ''The Shan of Burma: Memoirs of a Shan Exile''. p.77]</ref>
 
ในช่วงที่อังกฤษปกครอง เจ้าฟ้าที่ปกครองไทใหญ่มี 7 เมือง ปกครองด้วยราชวงศ์ท้องถิ่น และมีข้าหลวงอังกฤษดูแล 1 คน และได้รวมการบริหารรัฐกะเรนนีเข้ามาด้วยเมื่อ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2465 และเรียกชื่อว่าสหพันธรัฐฉานชาน<ref name=md>{{cite web | url=http://www.statoids.com/umm.html | title=Myanmar Divisions | accessdate=2009-04-10 | publisher=Statoids}}</ref> under a British commissioner who also administered the ภายใต้การดูแลของข้าหลวงใหญ่อังกฤษซึ่งยังดูแล[[Wa Statesกลุ่มรัฐว้า]].ด้วย<ref>[http://books.google.co.th/books?id=JG619Tq4ElkC&pg=PA213&lpg=PA213&dq=%22Federated+Shan+States%22&source=bl&ots=BSsHAdc5Ac&sig=i5-9ip29fdCUTJC3p5UxAHQoAp4&hl=en&sa=X&ei=fosRVNrvHMOOuASYzYDADQ&ved=0CEIQ6AEwBjgK#v=onepage&q=%22Federated%20Shan%20States%22&f=false Jean Michaud, ''Historical Dictionary of the Peoples of the Southeast Asian Massif,'' p. 213]</ref> ต่อมา ในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 ระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] [[รัฐเชียงตุง]]ถูกรุกรานโดยกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ตามข้อตกลงก่อนหน้านี้ระหว่างรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับจักรวรรดิญี่ปุ่น ในเดือนธันวาคมของปีเดียวกันนั้น [[กองทัพพายัพ]]ของไทยได้เข้ายึดครองพื้นที่บางส่วนของรัฐกะเรนนีที่อยู่ระหว่างชายแดนไทยและกับ[[แม่น้ำสาละวิน]] ซึ่งกินพื้นที่ฝั่งตะวันออกของ[[รัฐกันตรวดี]] รวมทั้งพื้นที่ของรัฐเชียงตุงและ[[เมืองพาน]] ไทยเรียกดินแดนที่ถูกผนวกนี้ว่า[[สหรัฐไทยเดิม]] ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2486<ref>[http://www.worldstatesmen.org/Myanmar_shankaren.html Shan and Karenni States of Burma]</ref> ไทยได้คืนดินแดนนี้ให้อังกฤษใน พ.ศ. 2488
 
หลังจากพม่าได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2491 สหพันธรัฐฉานชานได้เข้าร่วมในสหภาพพม่าในฐานะรัฐฉานชานและรัฐกะยาห์ยา โดยมีสิทธิจะแยกตัวออกจากสหภาพตาม[[ความตกลงเวียงปางหลวง]] หลังการรัฐประหารใน พ.ศ. 2505 สิทธิของรัฐฉานชานในการแยกตัวออกและสถานะต่างๆต่าง ๆ ของเจ้าฟ้าถูกยกเลิกโดยรัฐบาลทหารของ[[เน วินเนวี่น]]
 
หลังจากพม่าได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2491 สหพันธรัฐฉานได้เข้าร่วมในสหภาพพม่าในฐานะรัฐฉานและรัฐกะยาห์ โดยมีสิทธิจะแยกตัวออกจากสหภาพตาม[[ความตกลงเวียงปางหลวง]] หลังการรัฐประหารใน พ.ศ. 2505 สิทธิของรัฐฉานในการแยกตัวออกและสถานะต่างๆของเจ้าฟ้าถูกยกเลิกโดยรัฐบาลทหารของ[[เน วิน]]
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}