ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PANARIN (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเอกสารอ้างอิง ,จัดเรียงหน้าใหม่ ,เพิ่มเติมข้อมูลให้ทันสมัย และลบเนื้อหาที่ไม่จำเป็นและไม่มีแหล่งอ้างอิงออก เนื่องจากอาจเข้าข่ายการโฆษณาสถานศึกษาได้
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน
| name = โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ
เส้น 8 ⟶ 7:
| caption =
| address =289 หมู่ 5 [[ตำบลหัวรอ]] [[อำเภอเมืองพิษณุโลก]] [[จังหวัดพิษณุโลก]]
| abbr= ต.อ. / TUN
| code = 10076501041065360462
| establish_date = {{เทาเล็ก|โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา}}<br>{{วันเกิดและอายุ|2517|5|17}}
| establish_date = [[17 พฤษภาคม 2517 ปีแห่งการเปลี่ยนแปลง 20 กุมพาพันธ์ 2546 ]]
{{เทาเล็ก|โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ}}<br>{{วันเกิด-อายุ|2546|2|22}}
| founder = [[ม.ล.ปิ่น มาลากุล]] [[นางพรรณี เพ็งเนตร ]] [[นายมนู วัฒนไพบูลย์ ]]
| founder = [[นางพรรณี เพ็งเนตร ]] ,[[นายมนู วัฒนไพบูลย์ ]]
| type = [[โรงเรียนรัฐ]] สังกัด สพฐ.
| group = [[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน|สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 [[ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ]]
| class_range = มัธยมศึกษาตอนปลาย
| head_name = ผู้อำนวยการโรงเรียน
| headman = [[นายชูชาติ อุทะโก]]
| head = [[นายวิโรจน์ รอดสงฆ์]]
| motto = '''ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม''' <br> นิมิตฺตํ สาธุ รูปานํ กตญฺญู กตเวทิตา<br><small> (ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนดี) </small>
| song = ปิ่นหทัย
เส้น 23 ⟶ 24:
| website = http://www.tn.ac.th
| footnote = ต้นไม้ประจำโรงเรียน - [[จามจุรี]]
| language = ภาษาที่มีการเรียนการสอนในโรงเรียน
| นักเรียน = 1,700 คน
{{flagicon|THA}} [[ภาษาไทย|ภาษาไทย]]<br>{{flagicon|UK}} [[ภาษาอังกฤษ|ภาษาอังกฤษ]]<br>{{flagicon|JPN}} [[ภาษาญี่ปุ่น|ภาษาญี่ปุ่น]]<br>{{flagicon|China}} [[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีน]]<br>{{flagicon|KOR}} [[ภาษาเกาหลี|ภาษาเกาหลี]]
| students = 1,196 คน {{เทาเล็ก| (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2561)}}<ref> https://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student.php?School_ID=1065360462&Area_CODE=101739 จำนวนนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ</ref>
}}
 
'''[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ''']] หรือเดิมชื่อเดิม '''โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา''' เปิดทำการเรียนการสอนเฉพาะในระดับ[[ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย]] (ม.4-ม.6) ทำการสอนในรูปแบบ[[สหศึกษา]] ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดพิษณุโลก]] และยังเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดพิษณุโลก ตั้งอยู่ ณที่ เลขที่ 289 หมู่ 5 [[ถนนเอกาทศรถ]] [[ตำบลหัวรอ]] [[อำเภอเมืองพิษณุโลก]] [[จังหวัดพิษณุโลก]] บนพื้นที่ราชพัสดุของกระทรวงกลาโหม มีเนื้อที่ 200 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อกับ [[โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลกกระทรวงศึกษาธิการ]]ได้ประกาศให้เปลี่ยนชื่อ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา สำนักวิทยาศาสตร์การแพทย์พิษณุโลกเป็น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดพิษณุโลก นอกจากนี้ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ยังเป็นเมื่อวันที่ตั้งของ[[โรงเรียนกีฬาจังหวัดพิษณุโลก]] สนามกีฬาจังหวัดพิษณุโลก สถานีตำรวจภูธรเมืองพิษณุโลก2 และกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก พฤษภาคม 2546
 
== ประวัติ ==
[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ]] เดิมชื่อ [[โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา]] ตั้งอยู่เลขที่ 289 หมู่ 5 ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง [[จังหวัดพิษณุโลก]] เป็น[[โรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดแห่งที่ 3]] ของ[[จังหวัดพิษณุโลก]] ซึ่งได้ทำการเปิดเรียนเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2517 สืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2511 [[ก่อ สวัสดิพาณิชย์|ดร.ก่อ สวัสดิพาณิชย์]] อธิบดีกรมวิสามัญศึกษา (ต่อมาเป็น[[กรมสามัญศึกษา]]) ในขณะนั้นได้เดินทางมาตรวจเยี่ยม[[โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม]] โดยมี[[นายมานะ เอี่ยมสกุล]] เป็นอาจารย์ใหญ่และโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมและได้ปรารภกับ [[นายมานะ เอี่ยมสกุล]] ว่าต้องการจะได้ที่ดินประมาณ 200 ไร่ เพื่อก่อตั้ง[[วิทยาลัยชั้นสูง]]หรือโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ขึ้นในจังหวัดพิษณุโลกอีกหนึ่งแห่ง ต่อมา[[นายละเมียน อัมพวะสิริ]] นายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมในสมัยนั้น ได้ทราบจาก[[นายประเสริฐ สิทธิชัย]] ผู้จัดการโรงงานพิษณุโลกองค์การทอผ้า ว่ามีพื้นที่ว่างเปล่าเป็นพื้นที่ราชพัสดุ ซึ่ง[[กระทรวงกลาโหมครอบคลุม]]ควบคลุมดูแลอยู่ประมาณ 200 ไร่เศษ ตั้งอยู่ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก [[นายมานะ เอี่ยมสกุล]] ได้แจ้งให้อธิบดีกรมสามัญศึกษาทราบ ต่อมากรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ติดต่อขอใช้พื้นที่ดังกล่าวจาก[[กรมธนารักษ์]] [[กระทรวงการคลัง]] เพื่อเป็นสถานที่ก่อตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาอีกหนึ่งแห่ง อธิบดีกรมสามัญศึกษาได้แจ้งให้อาจารย์ใหญ่โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ทราบว่า กรมสามัญศึกษาอนุมัติให้เปิดโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลกบนพื้นที่ดังกล่าวอีกหนึ่งแห่ง และได้เปิดทำการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2517 โดย[[นายประสิทธิ์ มากลิ่น]] ดำรงตำแหน่ง ผู้บริหารคนแรกและได้เปิดรับนักเรียน ครั้งแรกระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 4 ห้อง 186 คน ครูอาจารย์จำนวน 7 คน โดยได้ฝากที่[[โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม]]ก่อน ต่อมาในวันที่ 23 มิถุนายน 2518 [[นายประสิทธิ์มากลิ่น]] อาจารย์ใหญ่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษาคนแรก ได้ทำการย้ายสถานที่เรียนจากโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม มาทำการเรียน ณ ที่อยู่ปัจจุบัน
 
โรงเรียนพิษณุโลกศึกษาได้ขยายตัวเพื่อรองรับนักเรียน ทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายอย่างรวดเร็ว ต่อมา[[กระทรวงศึกษาธิการ]]มีนโยบายในการจัดการศึกษาให้ทุกโรงเรียนทั่วประเทศไทยให้มีคุณภาพทัดเทียมกัน แม้จะอยู่ส่วนใดของประเทศไทยก็ตาม อีกทั้งกรมสามัญศึกษา มีนโยบายที่จะขยายโอกาสทางการศึกษาและต้องการที่จะมีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาอยู่ในทุกภาคของประเทศไทย ทำให้เกิดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ จ.สกลนคร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ ที่ จ.นครศรีธรรมราช และมีดำริที่จะตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่ จ.พิษณุโลก
 
ในปี พ.ศ. 2542 ผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา นายจุฬา ทารักษา ได้ประสานงานกับผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คือ นายอัศวิน วรรณวินเวศร์ เพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ได้ตอบรับเป็นเบื้องต้น โดยรับโรงเรียนพิษณุโลกศึกษาเข้าเป็นเครือข่ายของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยได้ดำเนินการร่วมกันผ่านกรมสามัญศึกษาเพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ แต่ได้ระงับไปช่วงหนึ่งเพราะผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา นายอัศวิน วรรณวินเวศร์ เกษียณอายุราชการ ต่อมาผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา นายมนู วัฒนไพบูลย์ ได้รับทราบการขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา และได้รับนโยบายของกรมสามัญศึกษาในการประสานงานจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา จังหวัดพิษณุโลก เพราะเป็นจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางของภาคเหนือมีสถาบันอุดมศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยนเรศวร สถาบันราชภัฏ สถาบันราชมงคล ผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษาได้ประสานงานกับผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพฯ ปัจจุบัน คือ นางพรรณี เพ็งเนตร เพื่อเข้าเป็นเครือข่ายโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาได้ตอบรับไม่ขัดข้องในการขอเป็นเครือข่ายเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 นายปองพล อดิเรกสาร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้นได้ประกาศให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา เป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ซึ่งนับเป็นเกียรติอย่างสูงต่อชาวจังหวัดพิษณุโลก
 
ในปี พ.ศ. 2542 ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา]] [[นายจุฬา ทารักษา]] ได้ประสานงานกับผู้อำนวยการ[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] คือ [[นายอัศวิน วรรณวินเวศร์]] เพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ได้ตอบรับเป็นเบื้องต้น โดยรับโรงเรียนพิษณุโลกศึกษาเข้าเป็นเครือข่ายของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยได้ดำเนินการร่วมกันผ่านกรมสามัญศึกษาเพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ แต่ได้ระงับไปช่วงหนึ่งเพราะผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา [[นายอัศวิน วรรณวินเวศร์]] เกษียณอายุราชการ ต่อมาผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา [[นายมนู วัฒนไพบูลย์]] ได้รับทราบการขอจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา และได้รับนโยบายของกรมสามัญศึกษาในการประสานงานจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ที่โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา จังหวัดพิษณุโลก เพราะเป็นจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางของภาคเหนือมีสถาบันอุดมศึกษา เช่น [[มหาวิทยาลัยนเรศวร]] สถาบันราชภัฏ สถาบันราชมงคล ผู้อำนวยการโรงเรียนพิษณุโลกศึกษาได้ประสานงานกับผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพฯ ปัจจุบัน คือ [[นางพรรณี เพ็งเนตร]] เพื่อเข้าเป็นเครือข่ายโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาได้ตอบรับไม่ขัดข้องในการขอเป็นเครือข่ายเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 [[นายปองพล อดิเรกสาร]] [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] ในขณะนั้นได้ประกาศให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนพิษณุโลกศึกษา เป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ<ref> http://www.tn.ac.th/tn60/index.php/2012-11-21-12-54-27/item ประวัติโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ</ref>
== สัญลักษณ์ ==
; ตราสัญลักษณ์ : พระเกี้ยว
เส้น 50 ⟶ 52:
* สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-ญี่ปุ่น
* สาระการเรียนรู้ที่เน้น ภาษาศาสตร์-เกาหลี (เปิดรับสมัคร 2560)
 
== ความเป็นเลิศทางวิชาการ ==
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ เป็นโรงเรียนชั้นนำในจังหวัดพิษณุโลก สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศในระบบแอดมิชชั่น โควตาและรับตรงของ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ เป็นจำนวนมากในแต่ละปี นอกจากนั้นยังได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน รางวัลรักการอ่านสานสู่ฝัน โครงการ 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝัน ฯลฯ และรางวัลชนะเลิศระดับภูมิภาคระดับประเทศ มากมายต่างเป็นเครื่องการันตี ดั่งเอกลักษณ์ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือที่ว่า "ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม"
 
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จึงเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ชั้นนำของจังหวัดพิษณุโลก ตลอดจนเป็นโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาส่วนภูมิภาคขนาดใหญ่ ถึงแม้ว่าจะก่อตั้งเมื่อปี 2546 เป็นน้องคนสุดท้องของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาส่วนภูมิภาคก็ตาม
 
== การก่อตั้ง ==
ประมาณ 60 ปีที่ผ่านมา นักการศึกษาดีเด่นของโลก [[ปิ่น มาลากุล|ศาสตราจารย์ ม.ล.ปิ่น มาลากุล]] ได้มองเห็นความสำคัญของการให้การศึกษาแก่เยาวชน จึงได้ตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร และสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับของประชาชนทั้งประเทศ และเมื่อประมาณ 30 ปีที่แล้ว ดร.ก่อ สวัสดิพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการการทรวงศึกษาธิการมีนโยบายที่จะกระจายโอกาสทางการศึกษาให้แก่เยาวชนทุกภาคของประเทศไทยให้มีโอกาสในการศึกษาเล่าเรียนเท่าเทียมกับส่วนกลาง และได้ดำริที่จะตั้งวิทยาลัยชั้นสูง (Junior College) หรือเตรียมอุดมศึกษาที่พิษณุโลกศึกษา[[ไฟล์:หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล1.jpg|200px|right|[[หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล]]]]
 
== เพลงประจำสถาบัน ==
ปิ่นหทัย
ประวัติเพลงประจำโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
เดิมทีเดียว เพลงประจำโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาคือ เพลงเตรียมอุดมศึกษา ที่มีเนื้อร้องขึ้นว่า “เราเตรียมอุดมศึกษา ...” เนื้อร้องของเพลงนี้เป็นผลงานของอดีตอาจารย์ผู้ล่วงลับ นิรันตร์ นวมารค ผู้เป็นตำนานเล่าขานกันสืบมาว่าสอน สามัคคีเภทคำฉันท์ ตลอดทั้งเรื่องได้โดยไม่ต้องเปิดตัวบทเลย การที่เพลงประจำโรงเรียนเปลี่ยนมาเป็น เพลงปิ่นหทัย นั้น ยังไม่มีผู้ใดสืบได้ชัดว่าเริ่มมาแต่เมื่อใดและด้วยเหตุผลกลใด อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนเชื่อว่าสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เพลงปิ่นหทัย “ขึ้นแท่น” และรักษาตำแหน่งนี้ได้อย่างยาวนาน นอกเหนือไปจากสถานะพิเศษอันได้แก่การเป็นผลงานของนักเรียนเตรียมฯ เลขประจำตัว ๑ คือคุณชอุ่ม ปัญจพรรค์ และการกำหนดให้ต้องร้องทุกวันก่อนเข้าเรียนตั้งแต่สมัยผู้อำนวยการอัศวิน วรรณวินเวศร์แล้ว ยังมีความงดงามทางภาษาหรือวรรณศิลป์ที่สามารถขับความรักความศรัทธาที่มีต่อสถานประสาทวิชาแก่ตนได้อย่างคมเข้มและมีชีวิตชีวาเป็นอีกปัจจัยหนึ่งด้วย ในข้อเขียนนี้ ผู้เขียนจะได้อธิบายกลวิธีทางวรรณศิลป์ที่ผู้แต่งเนื้อร้องได้แฝงไว้อย่างแนบเนียน เพื่อให้เพื่อนนักเรียนแลเห็นความงามและเกิดความซาบซึ้งได้ด้วยตนเอง
 
อนึ่ง ผู้เขียนได้กำกับชื่อโวหารภาพพจน์ไว้ เพราะน่าจะช่วยให้ผู้อ่านจับประเด็นได้แม่นยำรัดกุมขึ้น แต่สำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยก็มีคำอธิบายอย่างสั้น ๆ ประกอบพอเข้าใจ หวังว่าจะไม่เป็นที่รกหูรกตาของบรรดาผู้รู้
 
* ความหมาย
"ปิ่นหทัย"
 
ความหมายตามอักษรของความว่า ปิ่น คือ “เครื่องประดับสำหรับปักผมที่มุ่นเป็นจุก” ในวัฒนธรรมตะวันออกเราถือว่าผมหรือศีรษะเป็นส่วนที่ตั้งอยู่บนสุดของร่างกาย ดังนั้นจึงมีความหมายขยายออกโดยปริยายว่า “จอม, ยอด” มักใช้ประกอบกับคำอื่นเพื่อให้ความหมายว่าพระเจ้าแผ่นดินเช่น พระปิ่นภพลบโลกนาถา, ปิ่นเกศประกอบกรณิย์กิจ
 
หทัย คือหัวใจ ในที่นี้ใช้ในความหมายเชิงนามธรรม คือความรู้สึกของบุคคล เช่น “หัวใจของเธอแทบจะแหลกสลายไปเมื่อรู้ข่าวว่า...” เมื่อรวมเป็น ปิ่นหทัย จึงมีความหมายว่า สิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความรักเทิดทูนอย่างสูงสุด ชื่อนี้นอกจากเป็นการใช้โวหารภาพพจน์ อุปลักษณ์ ที่นำคำว่า ปิ่น มาประกอบกับคำอื่นและให้ความหมายที่แหวกไปจากขนบเดิม ๆ แล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งนัยยะแห่งความรักและความกตัญญูกตเวทีอันเป็นคติธรรมประจำโรงเรียน คือระลึกนึกถึงพระคุณของโรงเรียนในฐานะที่เป็นยอดของหัวใจทีเดียว และเมื่อเราพิจารณาเนื้อร้องในลำดับต่อไป ก็จะเห็นว่าการตั้งชื่อว่า ปิ่นหทัย นี้นับว่าเหมาะสมเป็นที่สุดเพราะอาจครอบคลุมใจความของเนื้อร้องไว้ได้ทั้งหมดอีกด้วย
 
เนื้อเพลง
{|
| วันเดือนปีที่ผ่านมา
| โอ้ ต.อ.จ๋ารักยังแจ่มจ้าไม่เลือน
|-
| สระน้ำคูบัวตามเตือน
| สงวนบุญหนุนเลื่อนเสียงครูเสียงเพื่อนแจ่มใจ
|-
| ยามเรียนลือยามเล่นเด่นชื่อ
| ต.อ.ระบือลือสนั่นลั่นไกล
|-
| คิดถึงพระคุณอาจารย์ยิ่งใด
| เป็นปิ่นหทัยให้ร่มเย็นใจเสมอมา
|-
| รักต.อ.ขอจงอยู่ยืนนาน|||รักครูอาจารย์รักเพื่อนถ้วนหน้า
|-
| รักจริงรักจริงรักสิงวิญญาณ์|||รักต.อ.ยิ่งชีวารักจนดินฟ้ามลาย
|-
| รักต.อ.ขอจงอยู่ยืนนาน|||รักครูอาจารย์รักเพื่อนถ้วนหน้า
|-
| รักจริงรักจริงรักสิงวิญญาณ์|||รักต.อ.ประหนึ่งว่าปิ่นปักจุฑานั่นเอย
|-
|}
เพลงมาร์ชถิ่นเตรียมอุดม
 
{|
| ถิ่นเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ||| งามเหลือเจิดจ้ายิ่งใหญ่
|-
| เหล่าศิษย์ต.อ.อำไพ |||รวมใจน้องพี่เนานาน
|-
| เมื่อยามเรียนมุ่งมั่นฟันฝ่า||| กีฬาหรือเล่นสุขสันต์
|-
| รักเกียรติชื่อเสียงนิรันดร์ ||| ผูกพันมั่นคงกลมเกลียว
|-
| ธงชมพูพราวพริ้วปลิวไสว ||| จะคงอยู่คู่ไทยเด็ดเดี่ยว
|-
| กตัญญูแน่วแน่แท้เชียว ||| พระเกี้ยวงามเด่นเป็นคุณ
|-
| มีศรัทธาครูบาอาจารย์ ||| ยึดมั่นเอื้อเฟื้อเกื้อหนุน
|-
| ศิษย์หวังตั้งจิตแทนคุณ ||| อบอุ่นอ้อมอกเตรียมอุดม
|-
|}
เพลง มาร์ช ต.อ.
{|
| ต.อ. เตรียมอุดมศึกษา||| ประสาทวิชาให้ข้าทั้งหลาย
|-
| ต.อ. ศูนย์รวมจิตใจ||| อยู่แห่งใดยังรักมิเลือน
|-
| ต.อ. เตรียมอุดมศึกษา||| ศิษย์บูชาพระคุณใหญ่หลวง
|-
| ให้ความรู้แก่ข้า จริยาสอนเตือน||| เป็นเสมือนบ้านที่รักพักพิง
|-
| ยามเรียน เราเรียนเป็นเลิศ||| กีฬาก่อเกิดความสามัคคี
|-
| ธงสีชมพูดูเด่น โบกพลิ้วพาศิษย์เปรมปรีดิ์||| ให้โชคดีนำเกียรติสู่ ต.อ.
|-
| ต.อ. เตรียมอุดมศึกษา||| ศิษย์บูชาพระคุณมากหลาย
|-
| จะระลึกจนวันตาย อุทิศกายทำสิ่งดี||| สมศักดิ์ศรีเป็นศิษย์เตรียมอุดมฯ
|}
เพลง มาร์ช ต.อ.
{|
| เตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ
| ชื่อแห่งความเชื่อมั่นสถานศึกษา
|-
| ตราพระเกี้ยวประดับไว้แนบอุรา
| น้อมจิตบูชา ศรัทธาในฤดี
|-
| ความเป็นเลิศทางวิชาการ
| มีคุณธรรมกตัญญูกตเวที
|-
| ยิ้มไหว้ทักทาย ประพฤติตนเป็นคนดี
| เกีรติยศและศักดิ์ศรีคือสิ่งที่เราภาคภูมิใจ
|-
| *สีชมพูงดงามสดใส
| หลอมรวมใจลูกต.อ.เราน้องพี่
|-
| ใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ของจามจุรี
| รักสามัคคีชีวีผูกพัน
|-
| ชาติ ศาสนาเหนือยิ่งสิ่งใด
|เทิดทูนไท้องค์ราชันเป็นมิ่งขวัญ
|-
| รักต.อ.ขอจงอยู่ยืนนาน
| ร่วมสร้างสรรค์ให้ชื่อเสียง เกริกก้อง เกรียงไกร
|-
| (ซ้ำ *)
|}
 
== อาคารเรียนภายในโรงเรียน ==
เส้น 290 ⟶ 180:
| valign = "top" style="background: #F19CBB" |[[พ.ศ. 2556]] - ปัจจุบัน
|}
 
== โรงเรียนในเครือ ==
* [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]]
* [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้]]
* [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ]]
* [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]
 
== อ้างอิง ==