ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เนตรน้อย ศ.วรสิงห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับแก้ +เนื้อหา
บรรทัด 19:
| เสมอ = 2
}}
'''เนตรน้อย ศ.วรสิงห์''' อดีตแชมป์โลกคนที่ 6 ของไทย มีชื่อจริงว่า '''เนตร ลาดนอก''' เกิดเมื่อ วันที่ [[22 เมษายน]] [[พ.ศ. 2502]] ที่อ.บัวใหญ่ จ.[[นครราชสีมา]] ต่อมาครอบครัวได้ย้ายไปอยู่ที่ อ.พังโคน จ.[[สกลนคร]] ตั้งแต่เนตรน้อยยังเด็ก เนตรน้อย ศ.วรสิงห์ เป็นนักมวยที่มีรูปร่างเล็ก มีส่วนสูงเพียง 149.8 เซนติเมตรเท่านั้น อีกทื้งเมื่อได้เป็นแชมป์โลกยังได้สร้างสถิติเป็นนักมวยที่ครองแชมป์โลกด้วยอายุน้อยที่สุดในเวลานั้น คือ 19 ปี 14 วัน
 
== เริ่มจากมวยไทย ==
เนตรน้อยจบการศึกษาเพียงแค่ชั้น ป.4 เนื่องจากครอบครัวยากจนมาก ได้ฝึก[[มวยไทย]]ครั้งแรกกับ ปราบไพรี เทอดเกียรติพิทักษ์ ซึ่งเป็นเทรนเนอร์ของ เนตร ศักดิ์ณรงค์ นักมวยไทยมีชื่อของยุคนั้น ต่อมาเนตรน้อยได้ย้ายมาอยู่กับ " โกฮง " พงษ์ ถาวรวิวัฒน์บุตร ที่[[กรุงเทพมหานคร]] และได้ใช้ชื่อว่า " เนตรน้อย ศักดิ์ณรงค์ " เนตรน้อยชกมวยไทยอย่างลุ่ม ๆ ดอน ๆ ครั้งสุดท้ายแพ้น็อกคู่ต่อสู้อย่างยับเยิน จึงหนีกลับบ้าน หลายเดือนต่อมา มีผู้ชักชวนให้กลับมาชกมวยใหม่ โดยย้ายไปอยู่กับค่าย " ศ.วรสิงห์ " ของ ธรรมนูญ วรสิงห์ และชกใหม่ในแบบมวยสากล ซึ่งการชกในแบบมวยสากลนี้ เนตรน้อยทำได้ดี มีหนัดที่หนักที่โดยเฉพาะหมัดซ้าย ในปี [[พ.ศ. 2518]] เนตรน้อยชกชนะรวดทั้ง 7 ครั้ง มีแพ้อยู่เพียงครั้งเดียวเท่านั้น " เศียรสมิง " คอลัมนิสต์มวยชื่อดังในสมัยนั้น จึงแนะนำให้เนตรน้อยเปลี่ยนเทรนเนอร์ใหม่เป็น ออมทรัพย์ แหลมฟ้าผ่า
 
เนตรน้อยจบการศึกษาเพียงแค่ชั้น ป.4 เนื่องจากครอบครัวยากจนมาก ได้ฝึก[[มวยไทย]]ครั้งแรกกับ ปราบไพรี เทอดเกียรติพิทักษ์ ซึ่งเป็นเทรนเนอร์ของ เนตร ศักดิ์ณรงค์ นักมวยไทยมีชื่อของยุคนั้น ต่อมาเนตรน้อยได้ย้ายมาอยู่กับ " โกฮง " พงษ์ ถาวรวิวัฒน์บุตร ที่[[กรุงเทพมหานคร]] และได้ใช้ชื่อว่า " เนตรน้อย ศักดิ์ณรงค์ " เนตรน้อยชกมวยไทยอย่างลุ่ม ๆ ดอน ๆ ครั้งสุดท้ายแพ้น็อกคู่ต่อสู้อย่างยับเยิน จึงหนีกลับบ้าน หลายเดือนต่อมา มีผู้ชักชวนให้กลับมาชกมวยใหม่ โดยย้ายไปอยู่กับค่าย " ศ.วรสิงห์ " ของ ธรรมนูญ วรสิงห์ และชกใหม่ในแบบมวยสากล ซึ่งการชกในแบบมวยสากลนี้ เนตรน้อยทำได้ดี มีหนัดที่หนักที่โดยเฉพาะหมัดซ้าย ในปี [[พ.ศ. 2518]] เนตรน้อยชกชนะรวดทั้ง 7 ครั้ง มีแพ้อยู่เพียงครั้งเดียวเท่านั้น " เศียรสมิง " คอลัมนิสต์มวยชื่อดังในสมัยนั้น จึงแนะนำให้เนตรน้อยเปลี่ยนเทรนเนอร์ใหม่เป็น ออมทรัพย์ แหลมฟ้าผ่า
เนตรน้อยกลับมาชนะติดกัน 2 ครั้ง และได้โอกาสชิงแชมป์รุ่นจูเนียร์ฟลายเวทของ[[เวทีมวยราชดำเนิน]] แต่ปรากฏว่าแพ้น็อกเพียงแค่ ยก 2 เท่านั้น ทางฝ่ายผู้จัดการ ธรรมนูญ วรสิงห์ จึงได้เปลี่ยนเทรนเนอร์เป็น สุดใจ สัพพะเลข โดยไปฝึกซ้อมอยู่ที่ใต้ถุนยิมเนเซี่ยม 1 [[สนามกีฬาแห่งชาติ]] เนตรน้อยจึงมีฝีมือดีขึ้นเรื่อย ๆ การชกก็ดีขึ้นเรื่อย ๆ ตามลำดับ จนกระทั่งได้มีโอกาสชิงแชมป์ภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก (OPBF) กับ ชาง อิล ชุง นักมวยชาว[[เกาหลีใต้]] ถึงถิ่นของแชมป์เอง เนตรน้อย ศ.วรสิงห์ ชกได้ดี แต่เมื่อครบ 12 ยก กรรมการตัดสินให้เสมอกันอย่างค้านสายตา เมื่อกลับมา เนตรน้อยได้ครองแชมป์ของเวทีราชดำเนินโดยชนะคู่ปรับเก่า และได้แชมป์รุ่นเดียวกันของ[[เวทีลุมพินี]]ด้วย ต่อมาชนะน็อกยก 9 มนต์สยาม ฮ.มหาชัย นักมวยปั้นที่มีคิวชิงแชมป์โลก เนตรน้อย ศ.วรสิงห์ จึงได้มีชื่อติดอันดับโลกเป็นครั้งแรก จากนั้นในปี [[พ.ศ. 2520]] เนตรน้อยได้มีโอกาสชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่กรุง[[คารากัส]] [[ประเทศเวเนซุเอลา|ประเทศเวเนซุเอล่า]] กับ หลุยส์ เอสตาบ้า เจ้าของตำแหน่ง
 
== ชกมวยสากล ==
 
หลายเดือนต่อมา มีผู้ชักชวนให้กลับมาชกมวยใหม่ โดยย้ายไปอยู่กับค่าย " ศ.วรสิงห์ " ของ ธรรมนูญ วรสิงห์ และชกใหม่ในแบบมวยสากล ซึ่งการชกในแบบมวยสากลนี้ เนตรน้อยทำได้ดี มีหนัดที่หนักที่โดยเฉพาะหมัดซ้าย ในปี [[พ.ศ. 2518]] เนตรน้อยชกชนะรวดทั้ง 7 ครั้ง มีแพ้อยู่เพียงครั้งเดียวเท่านั้น " เศียรสมิง " คอลัมนิสต์มวยชื่อดังในสมัยนั้น จึงแนะนำให้เนตรน้อยเปลี่ยนเทรนเนอร์ใหม่เป็น ออมทรัพย์ แหลมฟ้าผ่า
 
เนตรน้อยกลับมาชนะติดกัน 2 ครั้ง และได้โอกาสชิงแชมป์รุ่นจูเนียร์ฟลายเวทของ[[เวทีมวยราชดำเนิน]] แต่ปรากฏว่าแพ้น็อกเพียงแค่ ยก 2 เท่านั้น ทางฝ่ายผู้จัดการ ธรรมนูญ วรสิงห์ จึงได้เปลี่ยนเทรนเนอร์เป็น สุดใจ สัพพะเลข โดยไปฝึกซ้อมอยู่ที่ใต้ถุนยิมเนเซี่ยม 1 [[สนามกีฬาแห่งชาติ]] เนตรน้อยจึงมีฝีมือดีขึ้นเรื่อย ๆ การชกก็ดีขึ้นเรื่อย ๆ ตามลำดับ จนกระทั่งได้มีโอกาสชิงแชมป์ภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก (OPBF) กับ ชาง อิล ชุง นักมวยชาว[[เกาหลีใต้]] ถึงถิ่นของแชมป์เอง เนตรน้อย ศ.วรสิงห์ ชกได้ดี แต่เมื่อครบ 12 ยก กรรมการตัดสินให้เสมอกันอย่างค้านสายตา เมื่อกลับมา เนตรน้อยได้ครองแชมป์ของเวทีราชดำเนินโดยชนะคู่ปรับเก่า และได้แชมป์รุ่นเดียวกันของ[[เวทีลุมพินี]]ด้วย ต่อมาชนะน็อกยก 9 มนต์สยาม ฮ.มหาชัย นักมวยปั้นที่มีคิวชิงแชมป์โลก เนตรน้อย ศ.วรสิงห์ จึงได้มีชื่อติดอันดับโลกเป็นครั้งแรก จากนั้นในปี [[พ.ศ. 2520]] เนตรน้อยได้มีโอกาสชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่กรุง[[คารากัส]] [[ประเทศเวเนซุเอลา|ประเทศเวเนซุเอล่า]] กับ หลุยส์ เอสตาบ้า เจ้าของตำแหน่ง
 
== ได้ชิงแชมป์โลก ==
 
เมื่อกลับมา เนตรน้อยได้ครองแชมป์ของเวทีราชดำเนินโดยชนะคู่ปรับเก่า และได้แชมป์รุ่นเดียวกันของ[[เวทีลุมพินี]]ด้วย ต่อมาชนะน็อกยก 9 มนต์สยาม ฮ.มหาชัย นักมวยที่มีคิวชิงแชมป์โลก เนตรน้อย ศ.วรสิงห์ จึงได้มีชื่อติดอันดับโลกเป็นครั้งแรก จากนั้นในปี [[พ.ศ. 2520]] เนตรน้อยได้มีโอกาสชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่กรุง[[คารากัส]] [[ประเทศเวเนซุเอลา|ประเทศเวเนซุเอล่า]] กับ หลุยส์ เอสตาบ้า เจ้าของตำแหน่ง
 
หลุยส์ เอสตาบ้า ป้องกันตำแหน่งแชมป์ไว้ได้ถึง 10 ครั้งแล้ว มีประสบการณ์ รูปร่าง ช่วงชกได้เปรียบเนตรน้อยมากมาย แต่เมื่อได้ชกเข้าจริงแล้ว เนตรน้อยกลับทำได้ดี เกือบจะได้นับเอสตาบ้าหลายครั้ง แต่เมื่อครบ 15 ยกแล้ว กรรมการรวมคะแนนให้เอสตาบ้าชนะไปอย่างค้านสายตาอย่างที่สุด เมื่อกลับมาเนตรน้อยชกอุ่นเครื่องอีกหลายครั้ง จนโอกาสของเนตรน้อยมีอีกในครั้งที่ 2 เมื่อแชมป์เปลี่ยนเป็น เฟร็ดดี้ คัสติญโญ่ และเดินทางมาป้องกันตำแหน่งแชมป์ครั้งแรกกับเนตรน้อย ที่เวทีมวยชั่วคราว [[สนามกีฬากองทัพบก]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2521]] เนตรน้อย ศ.วรสิงห์ จึงประสบความสำเร็จได้เป็นแชมป์โลก ด้วยการชนะคะแนนอย่างไม่เป็นเอกฉันท์กับคัสติญโญ่ ไป
 
== แชมปืโลกคนที่ 6 ==
 
แต่เมื่อเนตรน้อยได้เป็นแชมป์โลกแล้ว ปรากฏความยุ่งยากเกิดขึ้นเมื่อผู้สนับสนุนรายหนึ่ง มีสัญญาว่าถ้าเนตรน้อยป้องกันแชมป์ชนะไปเรื่อย ๆ เงินรางวัลที่ได้ต้องแบ่งให้ 15 เปอร์เซนต์ทุกครั้ง สัญญาจะสิ้นสุดลงเมื่อเนตรน้อยเสียแชมป์โลกแล้ว เนตรน้อยได้ป้องกันตำแหน่งไว้ได้เดียงครั้งเดียว และเสียแชมป์ให้แก่ ซัง จุน คิม นักมวยชาวเกาหลีใต้ไปอย่างง่ายดาย แค่ยกที่ 3 ที่กรุง[[โซล]] ประเทศเกาหลีใต้ และไม่มีโอกาสจะได้แก้มืออีกเนื่องจากในสัญญาการชกไม่ได้ระบุเอาไว้ เนตรน้อยต้องใช้เวลาถึง 3 ปี ด้วยกัน จึงจะได้มีโอกาสชิงแชมป์โลกอีกครั้ง ในปี [[พ.ศ. 2524]] ที่จ.นครราชสีมา กับ ฮิราริโอ ซาปาต้า แชมป์โลกชาว[[ปานามา]] ผลการชกปรากฏว่าเนตรน้อยเสียเปรียบรูปร่างซาปาต้าเป็นอย่างมาก จึงเป็นฝ่ายแพ้น็อกไปในยกที่ 10 เป็นแชมป์โลกสมัยที่ 2 ไม่สำเร็จ ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2525]] เนตรน้อย ศ.วรสิงห์เป็นฝ่ายชนะน็อก มันส์ ส.จิตรพัฒนา นักมวยสร้างที่หวังว่าจะเป็นแชมป์โลกรายใหม่เพียงแค่ยกที่ 5
 
== ร่วงโรย ==
เนตรน้อย ศ.วรสิงห์ เป็นนักมวยที่มีปัญาหาเรื่องสัญญาค่าตัวเสมอ ๆ และผู้จัดการ ธรรมนูญ วรสิงห์ ก็ไม่สามารถรักษาผลประโยชน์อะไรของนักมวยได้ การชกมวยครั้งสุดท้ายของเนตรน้อย คือ ในปี พ.ศ. 2525 นี้กับ[[สามารถ พยัคฆ์อรุณ]] ที่หันมาชกมวยสากลเป็นครั้งแรก เนตรน้อยในวันชกครั้งนั้น ปล่อยร่างกายให้อ้วนท้วน พุงหลาม แต่ก็ยังชกได้ดี แต่เมื่อรวมคะแนนกันแล้ว ปรากฏว่าสามารถเป็นฝ่ายเอาชนะคะแนนไป ท่ามกลางเสียงโห่ฮาของแฟนมวยที่ไม่พอใจคำตัดสิน
 
หลังจากนั้นอีก 4 เดือนต่อมา เมื่อวันที่ [[2 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2525]] จากอุบัติเหตุขับมอเตอร์ไซด์ชนเสาไฟฟ้า คอหักเสียชีวิตทันที ที่ อ.พังโคน จ.สกลนคร ด้วยอายุเพียง 23 ปี 7 เดือนเท่านั้นเอง โดยที่ทรัพย์สินเงินทองไม่มีเหลือหรออะไรเลย
 
''เนตรน้อย ศ.วรสิงห์ เป็นนักมวยที่มีรูปร่างเล็ก มีส่วนสูงเพียง 149.8 เซนติเมตรเท่านั้น อีกทื้งเมื่อได้เป็นแชมป์โลกยังได้สร้างสถิติเป็นนักมวยที่ครองแชมป์โลกด้วยอายุน้อยที่สุดในเวลานั้น คือ 19 ปี 14 วัน''
 
 
== เกียรติประวัติ ==
* แชมป์โลกรุ่นไลท์ฟลายเวท WBC
** ชิง 6 พฤษภาคม 2521 ชนะคะแนน [[เฟรดดี้ คัสติญโญ]] (เม็กซิโก) ที่ สนามกีฬากองทัพบก
** ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 1, 5 สิงหาคม 2521 ชนะน็อค [[หลุยส์ เอสตาบา]] (เวเนฯ) ยก4 ที่ เวเนซุเอลา
** เสียแชมป์ 25 กันยายน 2521 แพ้น็อค [[คิม ซุงจุน]] (เกาหลีใต้) ยก 3 ที่ โซล
* แชมป์ OBA รุ่นไลท์ฟลายเวท
** ชิง, 28 มิ.ย. 2524 ชนะน็อค [[มาซาฮารุ ฟูจิ]] (ญี่ปุ่น) ยก 3 ที่ เวทีราชดำเนิน
* เคยชิงแชมป์ต่อไปนี้แต่ไม่สำเร็จ
** ชิงแชมป์ OPBF รุ่นจูเนียร์ฟลายเวท เมื่อ 26 พ.ย. 2519 เสมอกับ [[ซุง ซาง อิล]] (เกาหลีใต้) ที่ ชองจู,เกาหลีใต้
** ชิงแชมป์โลกรุ่นไลท์ฟลายเวท WBC 30 ธันวาคม พ.ศ. 2520 แพ้คะแนน หลุยส์ เอสตาบา (เวเนฯ) ที่ เวเนซุเอลา
** ชิงแชมป์โลกรุ่นไลท์ฟลายเวท WBC 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 แพ้น็อค [[ฮิลาริโอ ซาปาต้า]] (ปานามา) ยก 10 ที่ จ.นครราชสีมา
== อ้างอิง ==
* [http://www.boxrec.com/list_bouts.php?human_id=51395&cat=boxer สถิติการชก]
{{เกิดปี|2502}}{{ตายปี|2525}}
[[หมวดหมู่ :นักมวยสากลชาวไทยรุ่นไลท์ฟลายเวท|นเตรน้อย ศ.วรสิงห์ ]]