ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ครอบน้ำแข็ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[Image:Vatnajökull.jpeg|thumb|300px|[[วาตนาเยอคูตล์]], [[ไอซ์แลนด์]]]]
'''ครอบน้ำแข็ง''' ({{lang-en|Iceice cap}}) คือมวลน้ำแข็งที่ครอบคลุมพื้นที่น้อยกว่า 50,000 ตร.กม.(ส่วนมากจะปกคลุมบริเวณพื้นที่สูง) หากมวลน้ำแข็งนั้นปกคลุมพื้นที่มากกว่า 50,000 ตารางกิโลเมตรจะเรียกว่า[[พืดน้ำแข็ง]]<ref name=DougBenn>{{cite book
| last = Benn
| first = Douglas
บรรทัด 31:
ครอบน้ำแข็งนั้นมีผลกระทบที่สำคัญต่อ[[ธรณีสัณฐานวิทยา]]ในบริเวณนั้นเนื่องจากการขึ้นรูป การเซาะและ[[การกร่อน]]ของ[[ธารน้ำแข็ง]]นี้ทำให้เกิดลักษณะที่มีผลต่อการล่าถอยของธารน้ำแข็ง ทะเลสาบหลายแห่งเช่น[[เกรตเลกส์]]ในอเมริกาเหนือและหุบเขาหลายแห่งก่อตัวขึ้นจากกิจกรรมของธารน้ำแข็งเมื่อหลายร้อยหลายพันปีก่อน
 
บนโลกมีมวลน้ำแข็งประมาณ 30 ล้านลูกบาศก์กิโลเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยของมวลน้ำแข็งอยู่ระหว่าง -20 ° Cซ. ถึง -30 ° Cซ. ในกลางของครอบน้ำแข็งมีอุณหภูมิคงที่อยู่ระหว่าง -15 ° Cซ. ถึง -20 ° Cซ.{{อ้างอิง}}
 
ภูมิภาคที่อยู่ในบริเวณละติจูดสูงจะถูกปกคลุมด้วยน้ำแข็ง เช่นบริเวณขั้วโลกจะเรียกว่า[[ครอบน้ำแข็งขั้วโลก]] (polar ice caps) ซึ่งใช้อย่างแพร่หลายในสื่อมวลชน<ref>{{cite news | url= http://www.cnn.com/2009/TECH/science/03/11/arctic.ice.explorers/index.html