ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสติปัฏฐานสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
'''สติปัฏฐานสูตร​''' ​คือ​ ​พระสูตรที่กล่าว​ถึง​วิธี​เจริญ[[สติปัฏฐาน]]​ ​สติปัฏฐานสูตรนี้อาจมีอยู่ในพระไตรปิฎกหลายที่​แล้ว​แต่​ท่านจะ​ตั้งชื่อ​ ​แต่ที่นิยมเอามาพูด​ถึง​ ​จะ​อยู่​ใน​พระ[[สุตตันตปิฎก]]​ ​[[มัชฌิมนิกาย​]] ​[[มูลปัณณาสก์]]​ ​กล่าว​ถึง​วิธี​เจริญ[[สติปัฏฐาน​]] 21 ​[[บรรพะ]]​เหมือน​ใน​ทีฆนิกายนั่นเอง​.
 
== โครงสร้างสูตร ==
{{ปรับภาษา}}
ใน[[มหาสติปัฏฐานสูตร]]ท่านได้แสดงเรื่องเกี่ยวกับสติปัฏฐานไว้อย่างละเอียด โดยแบ่งแสดงออกเป็นข้อ ๆ เรียกว่า ปพฺพ(ปัพพะ,บรรพะ, ข้อ, แบบ) โดยในพระบาลีใช้คำว่า อปิจ(อะปิจะ - อีกอย่างหนึ่ง) เป็นเครื่องหมายในการแบ่ง[[สติปัฏฐาน 4]] อย่างลงไปอีก รวมทั้งสิ้น 21 บรรพะ เริ่มที่อานาปานบรรพะและไปสิ้นสุดที่สัจจบรรพะ.
บรรทัด 24:
อรรถกถาของสูตรนี้[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=10&i=273&p=1#มูลกำเนิดมหาสติปัฏฐานสูตร กล่าวว่า] ชาวกุรุเป็นผู้ที่มีอัธยาศัยสมบูรณ์และมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจึงตรัสกรรมฐานไว้[[s:วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_๑๑_สมาธินิทเทส#๒._จตุธาตุววัฏฐานกถา|อย่างย่อ]], ทรงแสดงพลว[[วิปัสสนาญาณ]]คือ[http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=9&h=พิจารณาเห็นธรรมเป็นเหตุดับในกายอยู่#375 ขยญาณ]และ[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=10&i=273&p=2&h=สติที่กำหนดลม#อานาปานสติเป็นอริยสัจ_๔ ภังคญาณ]ไว้เป็นหลักในตอนท้ายของทุกบรรพะ, อีกทั้งในตอนท้ายอรรถกถา[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=10&i=273&p=6&h=ภิกษุสามหมื่นรูปดำรงอยู่ในพระอรหัต#อานิสงส์ แสดงว่า]มีผู้บรรลุหลังฟังสูตรนี้จบด้วย.
 
===บรรพะ 21===
==== กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ====
กายานุปัสสนาสติปัฏฐานแสดงวิธีทำกรรมฐานด้วยการตามดูกาย 14 บรรพะ. ตาม[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=12.0&i=131&p=1#เหตุที่ตรัสสติปัฏฐานไว้_๔_อย่าง หลักเนตติปกรณ์]บรรพะนี้เหมาะสำหรับการเริ่มต้นของตัณหา[[จริต]] ที่มี[[อินทรีย์]]คือปัญญาอ่อนกำลัง เพราะกายานุปัสสนาสติปัฏฐานเป็น[[รูปกรรมฐาน]]เป็นของหยาบพิจารณาได้ชัดเจนง่ายกว่านามกรรมฐานใน 3 สติปัฏฐานที่เหลือ. ตาม[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=10&i=273&p=3#เวทนาเป็นอรูปกัมมัฏฐาน อรรถกถาของเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน]และ[[s:เนตติปกรณ์_ฉบับปรับสำนวน|หลักเนตติปกรณ์]] ผู้ที่ปฏิบัติตามกายานุปัสสนา[[สติปัฏฐาน]]จนสามารถ[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/read_th.php?B=5&A=9562&w=ตทงฺควินเยน%20วา%20วิกฺขมฺภนวินเยน%20วา%20วินยิตฺวา ตทังคปหานหรือวิกขัมภนปหาน]อภิชฌาและโทมนัสได้แล้ว เท่ากับได้รูปกรรมฐานแล้ว ฉะนั้น จะต้องทำสติปัฏฐาน 3 ข้อหลังต่อด้วย, เพื่อทำปหานในอรูปธรรมด้วย ไม่เช่นนั้น อนุสัยกิเลสก็จะนอนเนืองในอรูปกรรมฐานเหล่านั้น คอยเป็น[[อุปปนิสสยปัจจัย]]แบบอารัมมณะแก่ปริยุฏฐานกิเลส. อนึ่ง ในทุกๆ ท้ายบรรพะ จะมีการทำภังคญาณในสติของจิตดวงที่ทำรูปกรรมฐานหรืออรูปกรรมฐานดับไปในวาระจิตก่อนหน้าด้วย เพราะแม้เมื่อทำกรรมฐานทั้ง 21 บรรพะจนเป็นตทังคปหานหรือวิกขัมภนปหานแล้ว แต่อภิชฌาและโทมนัสก็ยังสามารถอาศัยอยู่ในจิตที่เพิ่งทำวิปัสสนาได้. ต่อไปนี้เป็นกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน 14 แบบ:-