ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหวัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: การแก้ไขผิดปกติในบทความคัดสรร/คุณภาพ การแก้ไขแบบเห็นภาพ
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 20:
 
== อาการและอาการแสดง ==
อาการทั่วไปของโรคหวัดมีทั้งไอ น้ำมูกไหล [[คัดจมูก]] และเจ็บคอ บางครั้งอาจมีอาการปวดกล้ามเนื้อ [[ความล้า]] [[ปวดศีรษะ]]และ[[ภาวะเบื่ออาหาร|สูญเสียความอยากอาหาร]] ในผู้ป่วยโรคหวัด 40% พบอาการเจ็บคอ<ref name=E24>Eccles Pg. 24</ref> และ 50% พบอาการไอ<ref name=CE11/> ขณะที่อาการปวดกล้ามเนื้อพบในผู้ป่วยราวครึ่งหนึ่ง<ref name=Eccles2005/> ผู้ป่วยในวัยผู้ใหญ่มักไม่พบอาการไข้ แต่พบทั่วไปในทารกและเด็ก<ref name=Eccles2005>{{cite journal | author = Eccles R | title = Understanding the symptoms of the common cold and influenza | journal = Lancet Infect Dis | volume = 5 | issue = 11 | pages = 718–25 | year = 2005 | month = November | pmid = 16253889 | doi = 10.1016/S1473-3099 (05) 70270-X }}</ref> อาการไอมักไม่รุนแรงนักเมื่อเทียบกับ[[ไข้หวัดใหญ่]]<ref name=Eccles2005/> ขณะที่อาการไอและไข้ในผู้ใหญ่มีแนวโน้มบ่งชี้ไข้หวัดใหญ่มากกว่า แต่ก็มีความคล้ายคลึงกันอย่างมากระหว่างโรคหวัดกับไข้หวัดใหญ่<ref>Eccles Pg.26</ref> ไวรัสหลายชนิดที่เป็นสาเหตุของโรคหวัดยังอาจส่งผลให้เกิดการติดเชื้อไร้ะหวัดโดยไม่มีใบสั่งยาจากแพทย์ในเด็กอายุหกปีหรือต่ำกว่า เนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยงและประโยชน์ที่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ไร้อาการ<ref name="CFP09">{{citeEccles journal|author=ShefrinPg. AE, Goldman RD|title=Use of over-the-counter cough and cold medications in children|journal=Can Fam Physician|volume=55|issue=11|pages=1081–3|year=2009|month=November|pmid=19910592|pmc=2776795|doi=|url=http://www.cfp.ca/content/55/11/1081.full.pdf}}129</ref> ในผู้ใหญ่ มีหลักฐานสนับสนุนการใช้ยาแก้ไอไม่เพียงพอ<ref>{{citeEccles journal|last=Smith|first=SM|coauthors=Schroeder, K; Fahey, T|title=Over-the-counter (OTC) medications for acute cough in children and adults in ambulatory settingsPg.|journal=Cochrane database of systematic reviews (Online)|date=2012 Aug 15|volume=8|pages=CD001831|pmid=22895922}}50</ref> การใช้สีของ[[เดกซ์โทรเมทอร์แฟนเสมหะ]] (ยาแก้ไอชนิดหนึ่งหาซื้อโดยตรงอาจมีได้ทั่วไป)ตั้งแต่ไม่มีสีไปจนถึงเหลือง เขียว ในทางและไม่บ่งชี้ถึงประเภทของตัวที่ผิด นำไปสู่กระทำให้เกิดการห้ามใช้ในหลายประเทศติดเชื้อ<ref>Eccles Pg. 24630</ref>
 
=== การลุกลาม ===
ตามปกติโรคหวัดเริ่มต้นจากความเหนื่อยล้า รู้สึกหนาวสะท้าน จามและปวดศีรษะ ตามด้วยอาการน้ำมูกไหลและไอหลายวัน<ref name=E24/> อาการอาจเริ่มขึ้นใน 16 ชั่วโมงนับแต่การสัมผัส<ref>{{cite book|first=editors, Richard A. Helms|title=Textbook of therapeutics : drug and disease management|year=2006|publisher=Lippincott Williams & Wilkins|location=Philadelphia, Pa. [u.a.]|isbn=9780781757348|pages=1882|url=http://books.google.ca/books?id=aVmRWrknaWgC&pg=PA1882|edition=8.}}</ref> และมักมีอาการรุนแรงที่สุดสองถึงสี่วันหลังเริ่มมีอาการ<ref name=Eccles2005/><ref>{{cite book|last=al.]|first=edited by Helga Rübsamen-Waigmann ... [et|title=Viral Infections and Treatment.|year=2003|publisher=Informa Healthcare|location=Hoboken|isbn=9780824756413|pages=111|url=http://books.google.ca/books?id=AltZnmbIhbwC&pg=PA111}}</ref> โดยปกติอาการจะหายไปเองในเจ็ดถึงสิบวัน แต่บางรายสามารถมีอาการได้นานถึงสามสัปดาห์ 35-40% ของผู้ป่วยเด็กมีอาการไอนานกว่า 10 วัน<ref name=Heik2003>{{cite journal | author = Heikkinen T, Järvinen A | title = The common cold | journal = Lancet | volume = 361 | issue = 9351 | pages = 51–9 | year = 2003 | month = January | pmid = 12517470 | doi = 10.1016/S0140-6736 (03) 12162-9 }}</ref> และ 10% ของผู้ป่วยเด็กมีอาการไอนานกว่า 25 วัน<ref>{{cite journal | author = Goldsobel AB, Chipps BE | title = Cough in the pediatric population | journal = J. Pediatr. | volume = 156 | issue = 3 | pages = 352–358.e1 | year = 2010 | month = March | pmid = 20176183 | doi = 10.1016/j.jpeds.2009.12.004 }}</ref>
 
== สาเหตุ ==
 
=== ไวรัส ===
โรคหวัดเป็นการติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนบน ไวรัสที่พบมากที่สุด คือ [[ไรโนไวรัส]] (30-80%) ซึ่งเป็น[[พิคอร์นาไวรัส]]ที่มี[[เซโรไทป์]]รู้จักกัน 99 ชนิด<ref>{{cite journal | author = Palmenberg AC, Spiro D, Kuzmickas R, Wang S, Djikeng A, Rathe JA, Fraser-Liggett CM, Liggett SB | title = Sequencing and Analyses of All Known Human Rhinovirus Genomes Reveals Structure and Evolution | journal = Science | volume = 324 | issue = 5923 | pages = 55–9 | year = 2009 | pmid = 19213880 | doi = 10.1126/science.1165557 }}</ref><ref>Eccles Pg.77</ref> ไวรัสชนิดอื่นมี[[โคโรนาไวรัส]] (10-15%) ฮิวแมนพาราอินฟลูเอ็นซาไวรัส ไวรัสเรสไพราทอรีซินไซเตียล อะดีโนไวรัส เอนเทอโรไวรัสและเมตะนิวโมไวรัส<ref name="NIAID2006">{{cite web | title = Common Cold | publisher = [[National Institute of Allergy and Infectious Diseases]] | date = 27 November 2006 | url = http://www3.niaid.nih.gov/healthscience/healthtopics/colds/ | accessdate = 11 June 2007}}</ref> บ่อยครั้งที่ไวรัสมากกว่าหนึ่งชนิดก่อให้เกิดโรค<ref>Eccles Pg.107</ref> รวมทั้งสิ้นแล้ว มีไวรัสกว่า 200 ชนิดที่เกี่ยวข้องกับโรคหวัด<ref name=Eccles2005/>
 
=== การแพร่เชื้อ ===
ไวรัสโรคหวัดโดยปกติแพร่เชื้อผ่านละอองจากอากาศ ([[ละอองลอย]]) การสัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลั่งทางจมูกที่ติดเชื้อ หรือวัตถุที่เป็นพาหะนำเชื้อ (fomite) <ref name=CE11/><ref name=Cold197>{{cite book|last=editors|first=Ronald Eccles, Olaf Weber, |title=Common cold|year=2009|publisher=Birkhäuser|location=Basel|isbn=978-3-7643-9894-1|pages=197|url=http://books.google.ca/books?id=rRIdiGE42IEC&pg=PA197|edition=Online-Ausg.}}</ref> แต่ยังไม่มีการระบุว่า ทางใดมีความสำคัญที่สุด แต่การสัมผัสมือต่อมือ และมือต่อพื้นต่อมือเหมือนจะสำคัญกว่าการติดต่อผ่านละอองลอย<ref name=E211>Eccles Pp. 211 & 215</ref> ไวรัสอาจมีชีวิตอยู่รอดเป็นเวลานาน มนุษย์ใช้มือหยิบจับไวรัสแล้วนำเข้าสู่ดวงตาหรือจมูกซึ่งเป็นที่เกิดการติดเชื้อ<ref name=Cold197/> การแพร่เชื้อพบทั่วไปในสถานรับเลี้ยงเด็กและที่โรงเรียนเนื่องจากความใกล้ชิดของเด็กจำนวนมากซึ่งมีภูมิคุ้มกันต่ำและมักมีอนามัยเลว จากนั้น สมาชิกครอบครัวคนอื่นเป็นผู้นำเชื้อเหล่านี้กลับมาบ้าน<ref name=Text2007>{{cite book|last=al.]|first=edited by Arie J. Zuckerman ... [et|title=Principles and practice of clinical virology|year=2007|publisher=Wiley|location=Hoboken, N.J.|isbn=978-0-470-51799-4|pages=496|url=http://books.google.ca/books?id=OgbcUWpUCXsC&pg=PA496|edition=6th}}</ref> ไม่มีหลักฐานว่า อากาศที่ไหลเวียนอยู่ในเที่ยวบินพาณิชย์เป็นวิธีการแพร่เชื้อ<ref name=Cold197/> อย่างไรก็ตาม บุคคลที่นั่งใกล้ชิดดูเหมือนจะมีความเสี่ยงสูงกว่า<ref name=E211/> โรคหวัดที่เกิดจากไรโนไวรัสติดเชื้อได้มากที่สุดระหว่างสามวันแรกของอาการ แต่จะติดเชื้อน้อยลงมากหลังจากนั้น<ref name="contagiousness">{{cite journal|contribution=Contagiousness of the common cold|author1=Gwaltney JM Jr|author2=Halstead SB|author-separator=, }} Invited letter in {{cite journal|title=Questions and answers|journal=Journal of the American Medical Association|date=16 July 1997|volume=278|issue=3|pages=256–257|url=http://jama.ama-assn.org/content/278/3/256|accessdate=16 September 2011|doi=10.1001/jama.1997.03550030096050}}</ref>
 
=== ลมฟ้าอากาศ ===
ทฤษฎีชาวบ้านดั้งเดิมมีว่า โรคหวัดสามารถ "ติด" ได้จากการสัมผัสอากาศหนาวเป็นเวลานาน เช่น สภาพฝนตกหรือฤดูหนาว จึงเป็นที่มาของชื่อโรค cold ในภาษาอังกฤษ<ref>{{cite news |author=Zuger, Abigail |title='You'll Catch Your Death!' An Old Wives' Tale? Well.. |newspaper=[[The New York Times]] |date=4 March 2003 |url=http://www.nytimes.com/2003/03/04/science/you-ll-catch-your-death-an-old-wives-tale-well.html}}</ref> บทบาทการเย็นตัวของร่างกายเป็นปัจจัยเสี่ยงโรคหวัดนั้นยังถกเถียงกันอยู่<ref name="Mourtzoukou">{{cite journal | author = Mourtzoukou EG, Falagas ME | title = Exposure to cold and respiratory tract infections | journal = The international journal of tuberculosis and lung disease : the official journal of the International Union against Tuberculosis and Lung Disease | volume = 11 | issue = 9 | pages = 938–43 | year = 2007 | month = September | pmid = 17705968 | doi = }}</ref> ไวรัสบางชนิดที่เป็นเหตุของโรคหวัดมีตามฤดูกาล ซึ่งเกิดขึ้นบ่อยกว่าในอากาศที่หนาวหรือเปียก<ref>Eccles Pg.79</ref> บางคนเชื่อว่า การติดโรคหวัดเป็นเพราะการอาศัยอยู่ในที่ร่มใกล้กับผู้ที่ติดเชื้อดังกล่าวเป็นระยะเวลานาน<ref name="EcclesPg">Eccles Pg.80</ref> โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่กลับจากโรงเรียน<ref name=Text2007/> อย่างไรก็ดี โรคหวัดยังอาจเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินหายในที่ส่งผลให้มีความไวเพิ่มขึ้น<ref name="EcclesPg" /> ความชื้นที่ต่ำสามารถเพิ่มอัตราการแพร่เชื้อไวรัสได้เนื่องจากอากาศแห้งทำให้ละอองไวรัสขนาดเล็กกระจายไปไกลขึ้นและอยู่ในอากาศนานขึ้น<ref>Eccles Pg. 157</ref>
 
=== อื่น ๆ ===
[[ภูมิคุ้มกันหมู่]]ที่เกิดจากการติดไวรัสไข้หวัดก่อนหน้านี้ มีบทบาทสำคัญในการจำกัดการแพร่ของไวรัส โดยสังเกตจากประชากรที่อายุน้อยมีอัตราการติดเชื้อทางเดินหายใจสูงกว่าประชากรอายุมาก<ref name=E78/> ภูมิคุ้มกันของร่างกายที่ทำงานไม่ดียังเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหวัด<ref name=E78/><ref>Eccles Pg.166</ref> การนอนหลับไม่เพียงพอและ[[ทุพโภชนาการ]]เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงการติดเชื้อหลังสัมผัสไรโนไวรัสที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเชื่อกันว่าเกิดจากผลของมันต่อการทำงานของภูมิคุ้มกัน<ref>{{cite journal | author = Cohen S, Doyle WJ, Alper CM, Janicki-Deverts D, Turner RB | title = Sleep habits and susceptibility to the common cold | journal = Arch. Intern. Med. | volume = 169 | issue = 1 | pages = 62–7 | year = 2009 | month = January | pmid = 19139325 | pmc = 2629403 | doi = 10.1001/archinternmed.2008.505 }}</ref><ref>Eccles Pg.160–165</ref>
 
== พยาธิสรีรวิทยา ==
[[ไฟล์:Illu conducting passages.svg|thumb|โรคหวัดเป็นโรคของ[[ทางเดินหายใจส่วนบน]]]]
อาการของโรคหวัดเชื่อว่าเกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันสนองต่อไวรัสเป็นหลัก<ref name=E112>Eccles Pg. 112</ref> กลไกการตอบสนองของภูมิคุ้มกันนี้จำเพาะต่อไวรัส ตัวอย่างเช่น ไรโนไวรัสติดต่อผ่านการสัมผัส ตัวเชื้อจะจับกับ ICAM-1 [[รีเซพเตอร์]]ของผู้ป่วย (ผ่านกลไกที่ยังไม่ทราบแน่ชัด) แล้วกระตุ้นการปลดปล่อย[[inflammatory mediators|สารตัวกลางการอักเสบ]] (inflammatory mediators) <ref name=E112/> จากนั้น สารตัวกลางการอักเสบเหล่านี้จะทำให้เกิดอาการ<ref name=E112/> โดยตัวไวรัสมิได้ก่อความเสียหายแก่[[เยื่อบุ]]จมูกแต่อย่างใด<ref name=Eccles2005/> ตรงข้ามกับ[[Human respiratory syncytial virus|ไวรัสเรสไพราทอรีซินไซเตียล]] (RSV) ซึ่งติดต่อทั้งผ่านการสัมผัสโดยตรงและละอองจากอากาศ ไวรัสจะแบ่งตัวในจมูกและลำคอก่อนจะแพร่กระจายลงสู่[[ทางเดินหายใจส่วนล่าง]]<ref name=E116>Eccles Pg.116</ref> และทำให้เกิดความเสียหายโดยตรงต่อเซลล์เยื่อบุ<ref name=E116/> [[ไวรัสพาราอินฟลูเอนซา]]ส่งผลให้เกิดการอักเสบในจมูก ลำคอและ[[หลอดลม]]<ref name=E122>Eccles Pg.122</ref> หากเด็กเล็กติดเชื้อเกิด[[ท่อลม]] (trachea) อักเสบอาจทำให้เกิดอาการของโรค[[กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น]] (croup) ได้ เพราะทางเดินหายใจมีขนาดเล็ก<ref name=E122/>
 
== การวินิจฉัย ==
การติดเชื้อไวรัสในทางเดินหายใจส่วนบนชนิดต่าง ๆ แยกได้คร่าว ๆ จากตำแหน่งของอาการ จมูกได้รับผลกระทบเป็นหลักในโรคหวัด ลำคอได้รับผลกระทบเป็นหลักในโรคคอหอยอักเสบ และปอดได้รับผลกระทบเป็นหลักในโรคหลอดลมอักเสบ<ref name=CE11/> กระนั้นบริเวณที่ได้รับผลกระทบอาจทับซ้อนกันอย่างมีนัยสำคัญและเกิดได้หลายบริเวณ<ref name=CE11/> บ่อยครั้ง โรคหวัดนิยามว่าเป็นจมูกอักเสบโดยมีปริมาณการอักเสบของลำคอต่าง ๆ กัน<ref name=E51>Eccles Pg. 51–52</ref> พบการวินิจฉัยด้วยตนเองประจำ<ref name=Eccles2005/> แต่แทบไม่เคยมีการแยกแยะตัวกระทำไวรัสที่เกี่ยวข้องแท้จริง<ref name=E51/> และโดยทั่วไปก็ไม่สามารถระบุประเภทของไวรัสจากอาการได้<ref name=Eccles2005/>
 
== การป้องกัน ==
มาตรการป้องกันการแพร่กระจายของไวรัสหวัดทางกายภาพดูเป็นมาตรการป้องกันโรคหวัดที่มีประสิทธิภาพเพียงอย่างเดียว<ref name=E209>Eccles Pg.209</ref> มาตรการเหล่านี้ รวมถึง[[การล้างมือ]]และสวมหน้ากากอนามัย ในสิ่งแวดล้อมสาธารณสุข มีการใช้เสื้อกาวน์และถุงมือใช้แล้วทิ้ง<ref name=E209/> ความพยายามอย่าง[[การกักกัน]] เป็นไปไม่ได้เพราะโรคนั้นแพร่ไปทั่วและอาการไม่จำเพาะ [[การให้วัคซีน]]นั้นยาก เพราะมีไวรัสหลายชนิดมาเกี่ยวข้องและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว<ref name=E209/> การสร้างวัคซีนที่ได้ผลอย่างกว้างขวางจึงยากจะเกิดขึ้น<ref>{{cite journal | author = Lawrence DM | title = Gene studies shed light on rhinovirus diversity | journal = Lancet Infect Dis | volume = 9 | issue = 5 | pages = 278| year = 2009 | month = May | pmid = | doi = 10.1016/S1473-3099 (09) 70123-9 }}</ref>
 
การล้างมือเป็นประจำดูมีประสิทธิภาพลดการส่งผ่านไวรัสหวัดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็ก<ref name=CochP11>{{cite journal | author = Jefferson T, Del Mar CB, Dooley L, Ferroni E, Al-Ansary LA, Bawazeer GA, van Driel ML, Nair S, Jones MA, Thorning S, Conly JM | title = Physical interventions to interrupt or reduce the spread of respiratory viruses | journal = Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = | issue = 7 | pages = CD006207| year = 2011 | month = July | pmid = 21735402 | doi = 10.1002/14651858.CD006207.pub4 | editor1-last = Jefferson | editor1-first = Tom }}</ref> ส่วนการเพิ่ม[[ยาต้านไวรัส]]หรือ[[สารต้านแบคทีเรีย]]ในการล้างมือปกติจะช่วยให้ผลประโยชน์ในการป้องกันโรคเพิ่มขึ้นหรือไม่นั้นยังไม่ทราบกัน<ref name=CochP11/> การสวมหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่กับบุคคลที่ติดเชื้ออาจมีประโยชน์ กระนั้น มีหลักฐานไม่เพียงพอแก่การรักษา[[ระยะสังคม]]ที่มากขึ้น<ref name=CochP11/> การเสริมธาตุ[[สังกะสี]]อาจมีผลช่วยลดอัตราโรคหวัด<ref name=Zinc11>{{cite journal | author = Singh M, Das RR | title = Zinc for the common cold | journal = Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = | issue = 2 | pages = CD001364| year = 2011 | month = February | pmid = 21328251 | doi = 10.1002/14651858.CD001364.pub3 | editor1-last = Singh | editor1-first = Meenu }}</ref> การเสริมวิตามินซีเป็นประจำไม่ลดความเสี่ยงหรือความรุนแรงของโรคหวัด แต่อาจลดช่วงเวลาของโรค<ref name="Hemilä2010"/>
 
== การรักษา ==
ยังไม่มียาหรือสมุนไพรใด ๆ ที่มีหลักฐานยืนยันได้ว่าสามารถลดระยะเวลาของการติดเชื้อได้<ref>{{cite web| title = Common Cold: Treatments and Drugs| publisher = Mayo Clinic| url = http://www.mayoclinic.com/health/common-cold/DS00056/DSECTION=treatments-and-drugs| accessdate = 9 January 2010}}</ref> ดังนั้นการรักษาจึงประกอบด้วยการบรรเทาอาการ<ref name=AFP07/> การพักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ และกลั้วคอด้วยน้ำเกลืออุ่น เป็นวิธีรักษาแบบอนุรักษ์ที่สมเหตุสมผล<ref name="NIAID2006"/> อย่างไรก็ดี ประโยชน์ที่เห็นจากการรักษาเป็นผลมาจาก[[ยาหลอก|ปรากฏการณ์ยาหลอก]]เสียมาก<ref>Eccles Pg.261</ref>
 
=== ตามอาการ ===
การรักษาที่ช่วยบรรเทาอาการ รวมถึง [[ยาระงับปวด]]และ[[ยาลดไข้]] อย่าง[[ไอบูโปรเฟน]]<ref>{{cite journal | author = Kim SY, Chang YJ, Cho HM, Hwang YW, Moon YS | title = Non-steroidal anti-inflammatory drugs for the common cold | journal = Cochrane Database Syst Rev | volume = | issue = 3 | pages = CD006362| year = 2009 | pmid = 19588387 | doi = 10.1002/14651858.CD006362.pub2 | editor1-last = Kim | editor1-first = Soo Young }}</ref>และ[[พาราเซตามอล|อะเซตามีโนเฟน/พาราเซตามอล]]<ref>{{cite journal | author = Eccles R | title = Efficacy and safety of over-the-counter analgesics in the treatment of common cold and flu | journal = Journal of Clinical Pharmacy and Therapeutics | volume = 31 | issue = 4 | pages = 309–319 | year = 2006 | pmid = 16882099 | doi = 10.1111/j.1365-2710.2006.00754.x }}</ref> หลักฐานมิได้แสดงว่า[[ยาแก้ไอ]]มีประสิทธิภาพมากกว่ายาลดไข้แต่อย่างใด<ref>{{cite journal | author = Smith SM, Schroeder K, Fahey T | title = Over-the-counter (OTC) medications for acute cough in children and adults in ambulatory settings | journal = Cochrane Database Syst Rev | volume = | issue = 1 | pages = CD001831| year = 2008 | pmid = 18253996 | doi = 10.1002/14651858.CD001831.pub3 | editor1-last = Smith | editor1-first = Susan M }}</ref> และไม่แนะนำให้ใช้ในเด็กเพราะขาดหลักฐานสนับสนุนประสิทธิภาพและอาจเกิดอันตรายได้<ref name=CFP09>{{cite journal | author = Shefrin AE, Goldman RD | title = Use of over-the-counter cough and cold medications in children | journal = Can Fam Physician | volume = 55 | issue = 11 | pages = 1081–3 | year = 2009 | month = November | pmid = 19910592 | pmc = 2776795 | doi = | url = http://www.cfp.ca/content/55/11/1081.full.pdf }}</ref><ref>{{cite journal | author = Vassilev ZP, Kabadi S, Villa R | title = Safety and efficacy of over-the-counter cough and cold medicines for use in children | journal = Expert opinion on drug safety | volume = 9 | issue = 2 | pages = 233–42 | year = 2010 | month = Mar | pmid = 20001764 | doi = 10.1517/14740330903496410 }}</ref> ในปี 2552 แคนาดาจำกัดการใช้ยาแก้ไอและหวัดโดยไม่มีใบสั่งยาจากแพทย์ในเด็กอายุหกปีหรือต่ำกว่า เนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยงและประโยชน์ที่ยังไม่มีข้อพิสูจน์<ref name=CFP09/> ในผู้ใหญ่ มีหลักฐานสนับสนุนการใช้ยาแก้ไอไม่เพียงพอ<ref>{{cite journal|last=Smith|first=SM|coauthors=Schroeder, K; Fahey, T|title=Over-the-counter (OTC) medications for acute cough in children and adults in ambulatory settings.|journal=Cochrane database of systematic reviews (Online)|date=2012 Aug 15|volume=8|pages=CD001831|pmid=22895922}}</ref> การใช้[[เดกซ์โทรเมทอร์แฟน]] (ยาแก้ไอชนิดหนึ่งหาซื้อโดยตรงได้ทั่วไป) ในทางที่ผิด นำไปสู่การห้ามใช้ในหลายประเทศ<ref>Eccles Pg. 246</ref>
 
ในผู้ใหญ่ อาการน้ำมูกไหลสามารถลดได้จากสารต้านฮิสทามีนรุ่นแรก อย่างไรก็ดี สารเหล่านี้มีผลเสีย เช่น ความง่วง<ref name=AFP07/> [[ยาลดน้ำมูก]]อื่นอย่าง[[ซูโดอีเฟดรีน]] ยังมีประสิทธิภาพในประชากรนี้ด้วย<ref>{{cite journal | author = Taverner D, Latte GJ | title = Nasal decongestants for the common cold | journal = Cochrane Database Syst Rev | volume = | issue = 1 | pages = CD001953| year = 2007 | pmid = 17253470 | doi = 10.1002/14651858.CD001953.pub3 | editor1-last = Latte | editor1-first = G. Jenny }}</ref> ยาพ่นจมูก[[ไอพราโทรเปียม]]อาจลดอาการน้ำมูกไหล แต่มีผลเล็กน้อยกับการคัดจมูก<ref>{{cite journal | author = Albalawi ZH, Othman SS, Alfaleh K | title = Intranasal ipratropium bromide for the common cold | journal = Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = | issue = 7 | pages = CD008231| year = 2011 | month = July | pmid = 21735425 | doi = 10.1002/14651858.CD008231.pub2 | editor1-last = Albalawi | editor1-first = Zaina H }}</ref> ส่วนสารต้านฮิสทามีนรุ่นที่สองนั้นไม่ปรากฏว่ามีประสิทธิภาพ<ref>{{cite journal | author = Pratter MR | title = Cough and the common cold: ACCP evidence-based clinical practice guidelines | journal = Chest | volume = 129 | issue = 1 Suppl | pages = 72S–74S | year = 2006 | month = Jan | pmid = 16428695 | doi = 10.1378/chest.129.1_suppl.72S }}</ref>
เส้น 30 ⟶ 65:
 
=== การรักษาทางเลือก ===
แม้จะมีการรักษาทางเลือกหลายอย่างที่ใช้กับโรคหวัด แต่ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนการใช้การรักษาทางเลือกส่วนมากเพียงพอ<ref name=AFP07/> จนถึงปี 2553 มีหลักฐานไม่เพียงพอที่จะแนะนำให้หรือไม่ให้ใช้[[น้ำผึ้ง]]หรือ[[การล้างจมูก]]<ref>{{cite journal | author = Oduwole O, Meremikwu MM, Oyo-Ita A, Udoh EE | title = Honey for acute cough in children | journal = Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = | issue = 1 | pages = CD007094| year = 2010 | month = January | pmid = 20091616 | doi = 10.1002/14651858.CD007094.pub2 | editor1-last = Oduwole | editor1-first = Olabisi }}</ref><ref>{{cite journal | author = Kassel JC, King D, Spurling GK | title = Saline nasal irrigation for acute upper respiratory tract infections | journal = Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = | issue = 3 | pages = CD006821| year = 2010 | month = March | pmid = 20238351 | doi = 10.1002/14651858.CD006821.pub2 | editor1-last = King | editor1-first = David }}</ref> มีการศึกษาเสนอว่า หากให้สังกะสีภายใน 24 ชั่วโมงหลังเริ่มมีอาการ จะสามารถลดช่วงเวลาและความรุนแรงของโรคหวัดในผู้มีสุขภาพดี<ref name="Zinc11">{{cite journal|author=Singh M, Das RR|title=Zinc for the common cold|journal=Cochrane Database of Systematic Reviews|volume=|issue=2|pages=CD001364|year=2011|month=February|pmid=21328251|doi=10.1002/14651858.CD001364.pub3|editor1-last=Singh|editor1-first=Meenu}}</ref> อย่างไรก็ดีการศึกษาในเรื่องเดียวกันชิ้นอื่น ๆ ให้ผลที่แตกต่างกันออกไป จึงยังต้องรอการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาว่าสังกะสีจะมีประโยชน์อย่างไร และควรให้เมื่อไร<ref>{{cite web |url= http://www.nhs.uk/news/2011/02February/Pages/zinc-for-the-common-cold.aspx |title=Zinc for the common cold&nbsp;— Health News&nbsp;— NHS Choices |first= |last= |work=nhs.uk |year=2012 [last update] |quote=In this review, there was a high level of heterogeneity between the studies that were pooled to determine the effect of zinc on the duration of cold symptoms. This may suggest that it was inappropriate to pool them. It certainly makes this particular finding less conclusive. |accessdate=24 February 2012}}</ref> ผลกระทบของ[[วิตามินซี]]ต่อโรคหวัดนั้น แม้จะมีการศึกษาวิจัยมานาน แต่ก็ไม่มีผลลัพธ์ที่น่าพอใจ จะได้ผลเฉพาะในเพียงบางภาวะเท่านั้น เช่น ในผู้ป่วยไข้หวัดที่ออกกำลังกายให้ชีพจรเข้าเป้าในอากาศเย็น<ref name="Hemilä2010">{{cite journal | author = Hemilä H, Chalker E, Douglas B, Hemilä H | title = Vitamin C for preventing and treating the common cold | journal = Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = | issue = 3 | pages = CD000980| year = 2007 | pmid = 17636648 | doi = 10.1002/14651858.CD000980.pub3 | editor1-last = Hemilä | editor1-first = Harri }}</ref><ref name="Heimer2009">{{cite journal | author = Heiner KA, Hart AM, Martin LG, Rubio-Wallace S | title = Examining the evidence for the use of vitamin C in the prophylaxis and treatment of the common cold | journal = Journal of the American Academy of Nurse Practitioners | volume = 21 | issue = 5 | pages = 295–300 | year = 2009 | pmid = 19432914 | doi = 10.1111/j.1745-7599.2009.00409.x }}</ref> หลักฐานเกี่ยวกับประโยชน์ของ[[อิชิเนเซีย]]นั้นขัดกัน<ref name=CochE06>{{cite journal | author = Linde K, Barrett B, Wölkart K, Bauer R, Melchart D | title = Echinacea for preventing and treating the common cold | journal = Cochrane Database Syst Rev | volume = | issue = 1 | pages = CD000530| year = 2006 | pmid = 16437427 | doi = 10.1002/14651858.CD000530.pub2 | editor1-last = Linde | editor1-first = Klaus }}</ref><ref>{{cite journal | author = Sachin A Shah, Stephen Sander, C Michael White, Mike Rinaldi, Craig I Coleman | title = Evaluation of echinacea for the prevention and treatment of the common cold: a meta-analysis | journal = The Lancet Infectious Diseases | volume = 7 | issue = 7 | pages = 473–480 | year = 2007 | pmid = 17597571 | doi = 10.1016/S1473-3099 (07) 70160-3 }}</ref> การเสริมอิชิเนเซียประเภทต่าง ๆ อาจมีประสิทธิภาพแตกต่างกัน<ref name=CochE06/> ยังไม่ทราบกันว่า[[กระเทียม]]มีประสิทธิภาพหรือไม่<ref>{{cite journal | author = Lissiman E, Bhasale AL, Cohen M | title = Garlic for the common cold | journal = Cochrane Database Syst Rev | volume = 3 | issue = | pages = CD006206 | year = 2012 | pmid = 22419312 | doi = 10.1002/14651858.CD006206.pub3 | editor1-last = Lissiman | editor1-first = Elizabeth }}</ref> การทดสอบ[[วิตามินดี]]ครั้งเดียวยังไม่พบประโยชน์<ref>{{cite journal|last=Murdoch|first=David R.|title=Effect of Vitamin D<sub>3</sub> Supplementation on Upper Respiratory Tract Infections in Healthy Adults<subtitle>The VIDARIS Randomized Controlled Trial</subtitle><alt-title>Vitamin D<sub>3</sub> and Upper Respiratory Tract Infections</alt-title>|journal=JAMA: the Journal of the American Medical Association|date=3 October 2012|volume=308|issue=13|pages=1333|doi=10.1001/jama.2012.12505}}</ref>
 
== การพยากรณ์โรค ==
เส้น 36 ⟶ 71:
 
== วิทยาการระบาด ==
โรคหวัดเป็น[[โรค]]ของมนุษย์ที่พบมากที่สุด<ref name=E1>Eccles Pg. 1</ref> และทุกคนบนโลกล้วนได้รับผลกระทบ<ref name="Text2007">{{cite book|last=al.]|first=edited by Arie J. Zuckerman ... [et|title=Principles and practice of clinical virology|year=2007|publisher=Wiley|location=Hoboken, N.J.|isbn=978-0-470-51799-4|pages=496|url=http://books.google.ca/books?id=OgbcUWpUCXsC&pg=PA496|edition=6th}}</ref> ตามแบบผู้ใหญ่มีการติดเชื้อสองถึงห้าครั้งต่อปี<ref name=CE11>{{cite journal | author = Arroll B | title = Common cold | journal = Clinical evidence | volume = 2011 | issue = 3 | pages = | year = 2011 | month = March | pmid = 21406124 | doi = }}</ref><ref name=Eccles2005/> และเด็กอาจเป็นโรคหวัดหกถึงสิบครั้งต่อปี ซึ่งอาจมากถึงสิบสองครั้งต่อปีสำหรับเด็กที่เรียนในโรงเรียน<ref name=AFP07>{{cite journal | author = Simasek M, Blandino DA | title = Treatment of the common cold | journal = American Family Physician | volume = 75 | issue = 4 | pages = 515–20 | year = 2007 | pmid = 17323712 | doi = | url = http://www.aafp.org/afp/20070215/515.html }}</ref> อัตราการติดเชื้อมีอาการเพิ่มขึ้นในวัยสูงอายุเพราะระบบภูมิคุ้มกันที่เสื่อมลง<ref name=E78>Eccles Pg. 78</ref>
 
== ประวัติศาสตร์ ==
เส้น 45 ⟶ 80:
== ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ==
[[ไฟล์:The Cost Of The Common Cold & Influenza.jpg|thumb|ใบปิดประกาศของอังกฤษสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]อธิบายราคาของโรคหวัด<ref>{{cite web |title=The Cost of the Common Cold and Influenza |work=Imperial War Museum: Posters of Conflict |publisher=vads|url=http://vads.bath.ac.uk/flarge.php?uid=33443&sos=0}}</ref>]]
ยังไม่เป็นที่เข้าใจดีในพื้นที่ส่วนใหญ่ของโลกเกี่ยวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจของโรคหวัด<ref name="EcclesPg_a" /> ในสหรัฐอเมริกา โรคหวัดทำให้มีการพบแพทย์ 75–100 ล้านครั้งต่อปี โดยประเมินราคาเบื้องต้น 7,700 ล้าน[[ดอลล่าร์สหรัฐ]]ต่อปี ชาวอเมริกันใช้เงิน 2,900 ล้านดอลล่าร์สหรัฐไปกับยาที่ไม่มีใบสั่งยาจากแพทย์และอีก 400 ล้านดอลล่าร์สหรัฐไปกับยาตามใบสั่งเพื่อบรรเทาอาการ<ref name=Frend03>{{cite journal | author = Fendrick AM, Monto AS, Nightengale B, Sarnes M | title = The economic burden of non-influenza-related viral respiratory tract infection in the United States | journal = Arch. Intern. Med. | volume = 163 | issue = 4 | pages = 487–94 | year = 2003 | pmid = 12588210 | doi = 10.1001/archinte.163.4.487 }}</ref> กว่าหนึ่งในสามของผู้ที่มาพบแพทย์ได้รับใบสั่งยาปฏิชีวนะ ซึ่งส่อว่าอาจมีการดื้อยาปฏิชีวนะเกิดขึ้นได้<ref name=Frend03/> มีการประเมินว่ามีการขาดเรียน 22–189 ล้านวันทุกปีเนื่องจากโรคหวัด ผลคือ ผู้ปกครองเสียวันทำงาน 126 ล้านวันเพื่ออยู่บ้านดูแลบุตรของตน เมื่อรวมกับวันทำงานอีก 150 ล้านวันที่ลูกจ้างป่วยเป็นโรคหวัด ผลกระทบความสูญเสียทางเศรษฐกิจรวมของงานที่เกี่ยวข้องกับโรคหวัดเกิน 20,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐต่อปี<ref name="NIAID2006">{{cite web|title=Common Cold|publisher=[[National Institute of Allergy and Infectious Diseases]]|date=27 November 2006|url=http://www3.niaid.nih.gov/healthscience/healthtopics/colds/|accessdate=11 June 2007}}</ref><ref name=Frend03/> ซึ่งคิดเป็น 40% ของเวลาทำงานที่เสียไปในสหรัฐอเมริกา<ref>{{cite journal | author = Kirkpatrick GL | title = The common cold | journal = Prim. Care | volume = 23 | issue = 4 | pages = 657–75 | year = 1996 | month = December | pmid = 8890137 | doi = 10.1016/S0095-4543 (05) 70355-9 }}</ref>
 
== การวิจัย ==