ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 139:
 
ในวันที่ 14 เมษายน แกนนำนปช. หลายคนยอมมอบตัว การชุมนุมจึงสงบลง<ref name="สงกรานต์"/> แม้ว่าผู้ชุมนุมบางส่วนจะยังคงชุมนุมกันต่อไป สถานการณ์ฉุกเฉินมีผลจนถึงวันที่ 24 เมษายน นายกรัฐมนตรีจึงประกาศยกเลิก<ref>ราชกิจจานุเบกษา. [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/060/1.PDF ประกาศ เรื่อง ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร...]. เล่ม 126 ตอนพิเศษ 60 ง. หน้า 1-2. สืบค้นเมื่อ 31-12-2552.</ref> สำหรับตัวเลขผู้เสียชีวิตและผู้ได้รับบาดเจ็บ รัฐบาลระบุว่ามีผู้ได้รับบาดเจ็บประมาณ 120 คน ระหว่างการชุมนุม<ref>BBC. [http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/7997507.stm Army pressure ends Thai protest]. สืบค้นเมื่อ 31-12-2552.</ref>; ในเวลาต่อมา ได้พบศพ นปช. 2 คน ลอยตาม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ซึ่งทางตำรวจสรุปว่าเป็นการฆาตกรรมด้วยชนวนเหตุทางการเมือง<ref>The Straits Times. [http://www.straitstimes.com/Breaking%2BNews/SE%2BAsia/Story/STIStory_364350.html Police probe 'Red Shirt' deaths]. สืบค้นเมื่อ 31-12-2552.</ref>; กลุ่มนปช. กล่าวอ้างว่ามีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 6 คน แต่ศพได้ถูกฝ่ายทหารเอาไปซ่อน แต่ทางกองทัพปฏิเสธ<ref>MCOT. [http://enews.mcot.net/view.php?id=9548&t=2 Thai army chief: No deaths in operation to break red-shirt protest]. สืบค้นเมื่อ 31-12-2552.</ref>
 
=== เหตุการณ์ลอบยิงสนธิ ===