ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันพระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
 
== ประวัติความเป็นมาของวันธรรมสวนะ ==
ในสมัยพุทธกาล พระราชาพระนามว่าพระเจ้าพิมพิสารได้เข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในพระวิหารชื่อว่าเชตวัน และกราบทูลว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์แลเห็น ซึ่งนักบวชศาสนาอื่นเขาอีก ได้มีวันกำหนดนัดหมายประชุมสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมคำสั่งสอนในศาสนาที่ประชุมของเขาทั้งหลาย เหล่านั้น แต่ว่าใน ข้าแแต่พระองค์ผู้เจริญ ไฉนศาสนาพุทธยังไม่ของเราทั้งหลายย่อมมีวันกำหนดนัดหมายเพื่อประชุมกันหามิได้ ดังนี้." พระพุทธองค์อันอันพระราชาพระนามว่าพระเจ้าพิมพิสาร กราบทูลแล้ว พระศาสดาจึงทรงอนุญาตให้เหล่าภิกษุสงฆ์สาวกประชุมกันเพื่อสนทนาและแสดงพระธรรมเทศนาให้แก่ประชาชนอุบาสกและอุบาสิกาทั้งหลาย ได้ฟังกันในวันขึ้น 8 ค่ำ หรือ หรือว่า วันขึ้น14 ค่ำ หรือว่า วันขึ้น 15 ค่ำ พุทธศาสนิกชนจึงถือเอาวันดังกล่าวเป็นวันธรรมสวนะเพื่อกำหนดให้มีการประชุมพร้อมเพรียงกันฟังธรรม
 
ในสมัยพุทธกาลนั้น สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประชุมพระเหล่าภิกษุสงฆ์สาวกเพื่อทรงสั่งสอนธรรมแสดงพระปาฏิโมกข์ ในช่วงเข้าพรรษา การประชุมสงฆ์ซึ่งเป็นสาวกของพระพุทธองค์นั้นก็ได้นัดหมายกันไปในที่ประชุมกัน และจะต้องมีพระภิกษุสงฆ์รูปหนึ่งเป็นผู้องค์สวดพระปาฏิโมกข์ พระภิกษุทุกรูปสงฆ์สาวกที่ร่วมเข้าฟังพระปาฏิโมกข์ ก็จะนั่งฟังด้วยอาการอันพร้อมเพียงกันสำรวมกาย วาจา และตั้งใจฟังจนกระทั่งสวดจบ เป็นอันเสร็จพิธี
 
คำว่า "สวนะ" แปลว่า การฟัง และคำว่า "ธรรมสวนะ" แปลว่า การฟังธรรม, วันฟังธรรม (ภาษาพูดที่เรียกว่า วันพระ) ในเพราะ คำว่า" พระ"นั้น ใช้เรียกภิกษุจำนวนมากกว่า ๔ รูป ขึ้นไป ซึ่งก็หมายถึงความเป็นหมู่คณะ จึงเรียกว่า พระ หรือ สงฆ์ ทางพระพุทธศาสนาก็ยังได้กำหนดเรียกว่า วันอุโบสถ ซึ่งแปลว่า วันถือศีลของอุบาสกและอุบาสิกาผู้ต้องการบุญกุศลเป็นกรณีพิเศษมีสัทธา ร่วมกันประพฤติและปฏิบัติตามธรรมสืบต่อกันมาจนถึงบัจจุบันนี้
 
พิธีทางด้านศาสนพิธีของชาวบ้านนั้น โดยพุทธศาสนิกชนพระพุทธศาสนาก็จะไปได้กำหนดให้มีพีธีต่างๆ มีการร่วมทำบุญตักบาตร ถวายอาหารภัตตาหาร จังหัน หวานคาวแด่พระภิกษุสงฆ์ และก็สมาทานศีล (รับศีล) และฟังพระธรรมเทศนาที่วัด ตามลำดับ
 
ในวันธรรมสวนะนี้ ชาวบ้านพุทธศาสนิกชนก็จะละเว้นการเข้าวัดร่วมกันประพฤติกิจที่เป็นบาปและปฏิบัติธรรม มีกิจกรรมต่างๆ มีการสมาทานศีลในวันนี้ เช่น สมาทานและรับศีล 5 หรือ ศีล 5 ซึ่งเรียกว่า อุโบสถศีล พระสงฆ์จะได้แสดงพระธรรมเทศนา หรือ ธรรมสากัจฉา หรือ สนทนาธรรมกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ ในข้อธรรมต่างๆ ซึ่งนับว่าเกิดเป็นประโยชน์แก่ผู้ฟังร่วมกิจกรรมเป็นอย่างยิ่ง<ref>http://www.watthasai.net/phra_day.htm</ref>
 
== ความสำคัญ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วันพระ"