ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดบาหลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{Infobox settlement
| name = บาหลี
| native_name = ᬩᬮᬶ
| native_name_lang = id<!-- ISO 639 code e.g. "id" for Indonesian -->
| type = [[Provinces of Indonesia|จังหวัด]]
| image_skyline = 1 pura tanah lot2.jpg
| image_alt =
| image_caption = [[วัดปูราตานะห์ลต]]
| image_flag = Flag of Bali.svg
| flag_alt =
| image_seal = Bali COA.svg
| seal_alt =
| nickname = [[Devata|เกาะแห่งทวยเทพ]], เกาะแห่งสันติ, รุ่งอรุณของโลก, เกาะฮินดู, เกาะแห่งความรัก<ref>{{cite web|url=http://www.thejakartaglobe.com/news/bali-to-host-2013-miss-world-pageant/514130 |title=Bali to Host 2013 Miss World Pageant |work=Jakarta Globe |date=26 April 2012 |accessdate=30 December 2012 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20130112020324/http://www.thejakartaglobe.com:80/news/bali-to-host-2013-miss-world-pageant/514130 |archivedate=12 January 2013 |df=dmy }}</ref>
| motto = ''Bali Dwipa Jaya'' ([[ภาษากวิ|กาวิ]]) <br />(เกาะบาหลีมีชัย)
| image_map = IndonesiaBali.png
| map_alt =
| map_caption = ที่ตั้งของจังหวัดบาหลีในอินโดนีเซีย (สีเขียว)
| latd = 8|latm = 39|latNS = S
| longd = 115|longm = 13|longEW = E
| coordinates_type = region:ID-BA_type:adm1st_scale:1000000
| coordinates_display = title
| coor_pinpoint =
| coordinates_footnotes =
| subdivision_type = ประเทศ
| subdivision_name = {{INA}}
| established_title =
| established_date =
| founder =
| named_for =
| seat_type = [[เมืองหลัก]]
| seat = [[ไฟล์:Lambang Denpasar City.png|20px]] [[เด็นปาซาร์]]
| government_footnotes =
| leader_title = ผู้ว่า
| leader_name = [[I Made Mangku Pastika|อี มาเด มังกู ปัสตีกา]]
| leader_party = =[[Democratic Party (Indonesia)|PD]]
| leader_title2 = รองผู้ว่า
| leader_name2 = [[I Ketut Sudikerta| อี เกอตุต ซูดีเกอร์ตา]]
| unit_pref = Metric<!-- or US or UK -->
| area_footnotes =
| area_total_km2 = 5780
| area_note =
| elevation_footnotes =
| elevation_m =
| population_footnotes =
| population_total = 4225384
| population_as_of = 2014
| population_density_km2 = auto
| population_note =
| demographics_type1 = ประชากร
| demographics1_footnotes = <!-- for references: use<ref> tags -->
| demographics1_title1 = ชาติพันธุ์
| demographics1_info1 = [[ชาวบาหลี|บาหลี]] (90%), [[ชาวชวา|ชวา]] (7%), [[ชาวบาหลีอากา|บาหลีอากา]] (1%), [[ชาวมาดูรา|มาดูรา]] (1%)<ref>
{{cite book
| publisher = Institute of Southeast Asian Studies
| title = Indonesia's Population: Ethnicity and Religion in a Changing Political Landscape
| year = 2003|isbn=9812302123|author1=Suryadinata, Leo |author2=Arifin, Evi Nurvidya |author3=Ananta, Aris |lastauthoramp=yes }}</ref>
| demographics1_title2 = ศาสนา
| demographics1_info2 = [[ศาสนาฮินดู|ฮินดู]] (83.5%), [[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]] (13.4%), [[ศาสนาคริสต์|คริสต์]] (2.5%), [[ศาสนาพุทธ|พุทธ]] (0.5%)<ref name=census2010>[http://sp2010.bps.go.id/index.php/site/tabel?tid=321&wid=0 Penduduk Menurut Wilayah dan Agama yang Dianut] (2010 Census). bps.go.id</ref>
| demographics1_title3 = ภาษา
| demographics1_info3 = [[ภาษาอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]] <small>(ราชการ)</small>, [[ภาษาบาหลี|บาหลี]], [[ภาษามลายูบาหลี|มลายูบาหลี]]
| blank_name_sec1 = [[Human Development Index|ดัชนีพัฒนาการมนุษย์]]
| blank_info_sec1 = {{increase}} 0.724 ({{fontcolor|green|สูง}})
| blank1_name_sec1 = อันดับ
| blank1_info_sec1 = อันดับที่ 5 จาก 34 จังหวัดของอินโดนีเซีย (2014)
| timezone1 = [[Time in Indonesia|WITA]]
| utc_offset1 = +08
| registration_plate = [[Vehicle registration plates of Indonesia|DK]]
| postal_code_type =
| postal_code =
| area_code_type =
| area_code =
| website = [http://www.baliprov.go.id/ www.baliprov.go.id]
| footnotes =
}}
'''บาหลี''' ({{lang-id|Bali}}) เป็น 1 ใน 34 [[จังหวัด]]ของ[[ประเทศอินโดนีเซีย]] เมืองสำคัญคือเด็นปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมด 5,634.40 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 3,422,600 คน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาษาที่ใช้คือ[[ภาษาอินโดนีเซีย]]และ[[ภาษาบาหลี]]
บรรทัด 79:
=== ยุคเริ่มต้น ===
[[ไฟล์:Gunung Kawi temple.jpg|200px|thumb|หินสลักบริเวณภูเขากุนุง คาวี]]
บาหลีเป็นถิ่นที่อยู่ของชนเผ่าออสโตรนีเชียน (Austronesian) ที่อพยพมาจากถิ่นฐานเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ[[โอเชียเนีย]] โดยใช้เส้นทางเดินเรือผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล<ref>Hinzler, Heidi. (1995). Artifacts and early foreign influences. In Eric Oey (Ed.), ''Bali'' (pp. 24-25). Singapore: Periplus Editions. ISBN 962-593-028-0. </ref><ref>Taylor, Jean Gelman. (2003). ''Indonesia: Peoples and histories''. New Haven and London: Yale University Press. ISBN 0-300-10518-5.</ref> วัฒนธรรมและภาษาของชาวบาหลีจึงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิดกับผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณหมู่เกาะ[[อินโดนีเซีย]] [[มาเลเซีย]] [[ฟิลิปปินส์]] และโอเชียเนีย<ref>Op. cit., Hinzler, Heidi. (1995), pp. 24-25. </ref>
 
มีการขุดพบเครื่องมือที่ทำจากหินมีอายุกว่า 3,000 ปีได้ที่หมู่บ้านเจอกิก์ (Cekik) ที่อยู่ทางตะวันตก รวมทั้งที่ตั้งถิ่นฐานและหลุมฝังศพของมนุษย์ในยุคหินใหม่ (Neolithic) ถึงยุคสำริด และโครงกระดูกมนุษย์โบราณอายุกว่า 4,000 ปี จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ซิตุสปูร์บาลากา (Museum Situs Purbalaka) ที่เมืองกีลีมานุก์ (Gilimanuk) อีกด้วย<ref name = "Lonely planet: Bali & Lombok"> Ver Berkmoes, Ryan, Skolnick, Adam & Caroll, Marian. (2009). ''Lonely planet: Bali & Lombok''. (12th ed.). Melbourne: Lonely Planet. ISBN 978-1-74104-864-3.</ref><ref name = "History of Bali">[http://indonesia-tourism.com/bali/history.html History of Bali]</ref> ประวัติของบาหลีก่อนการเผยแผ่[[ศาสนาฮินดู]]เข้ามายังหมู่เกาะอินโดนีเซียโดยพ่อค้าชาวอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 7 เป็นที่รู้กันน้อยมาก <ref name = "Lonely planet: Bali & Lombok"/> อย่างไรก็ตามบาหลีเริ่มเป็นเมืองค้าขายที่คึกคักตั้งแต่ 200 ปีก่อนคริสตกาล<ref name = "History of Bali"/> การบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับบาหลีที่เป็นลายลักษณ์อักษร ปรากฏในศิลาจารึกที่ขุดค้นพบใกล้หาดซานูร์ (Sanur) รวมทั้งจารึกบนแผ่นโลหะ เทวรูปสำริด และหินสลักที่แสดงถึงอิทธิพลของ[[ศาสนาพุทธ]]และฮินดู บริเวณรอบ ๆ ภูเขากูนุงกาวี (Gunung Kawi) และถ้ำโกอากาจะฮ์ (Goa Gajah)
บรรทัด 90:
 
=== การยึดครองของฮอลันดา ===
[[ไฟล์:Taman Ayun.jpg|200px|thumb|วัดปูราตามันอายุน เดิมเป็นที่ตั้งของอาณาจักรบาดุง]]
[[ไฟล์:Mountain over denpasar.jpg|200px|thumb|left|เมืองเด็นปาซาร์ในปัจจุบัน]]
ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่เดินทางมายังบาหลีคือชาว[[ฮอลันดา]] ซึ่งนำโดยกัปตันโกเลอนียึส เดอ เฮาต์มัน (Colenius de Houtman) เมื่อค.ศ.1597 และเริ่มเจริญความสัมพันธ์กับราชวงค์บาหลี ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 อีกทางฝากหนึงของบาหลี ชาวฮอลันดาได้ทำสนธิสัญญาการค้าหลายฉบับกับชวา และเส้นทางการค้าเครื่องเทศส่วนใหญ่ได้ตกอยู่ในความควบคุมของชาวฮอลันดาแล้ว<ref name = "Lonely planet: Bali & Lombok"/> เมื่อค.ศ.1710 ศูนย์กลางของบาหลีได้ย้ายไปอยู่ที่กลุงกุง (Klungkung) ปัจจุบันคือเมืองเสมาระปุระ<ref name = "Lonely planet: Bali & Lombok"/><ref name = "History for Bali"/> เป็นช่วงเวลาเดียวกับที่ชนชั้นปกครองในบาหลีเริ่มแตกแยกและแบ่งออกเป็นอาณาจักรย่อยๆ ส่วนชาวฮอลันดาเริ่มเข้ามามีอิทธิพลโดยใช้วิธีแบ่งแยกและปกครอง<ref name = "Lonely planet: Bali & Lombok"/> การเข้าควบคุมบาหลีทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจเริ่มต้นเมื่อราวค.ศ.1840 โดยในปีค.ศ.1846 ชาวฮอลันดาได้อ้างการกู้เรือจมบริเวณชายฝั้งทางด้านเหนือ ใกล้กับเมืองสิงคราช (Singaraja) ในปัจจุบัน นำกำลังทหารเข้ามาและยึดอาณาจักรบูเลเล็ง (Buleleng) และเจ็มบรานา (Jembrana) ไว้ได้<ref name = "History for Bali"/><ref>Vickers, Adrian. (1995). In Eric Oey (Ed.), ''Bali'' (pp. 26-35). Singapore: Periplus Editions. ISBN 962-593-028-0. </ref>เมื่อยึดอาณาจักรทางตอนเหนือได้แล้ว จึงเริ่มเข้ารุกรานอาณาจักรทางตอนใต้ ในปีค.ศ.1904 ฮอลันดาได้อ้างการร่วมกู้ซากเรือจีนนอกชายฝั่งหาดซานูร์ เรียกร้องให้อาณาจักรบาดุงจ่ายค่าชดเชยเป็นจำนวนเงิน 3,000 เหรียญเงิน แต่ได้รับการปฏิเสธ ในปีค.ศ.1906 ฮอลันดาจึงได้ยกกำลังทหารเข้ามาบริเวณหาดซานูร์ โดย 4 วันหลังจากนั้น ได้บุกเข้ามาถึงชานเมืองเด็นปาซาร์ (Denpasar) วันที่ 20 กันยายน ค.ศ.1906 ฮอลันดาจึงเริ่มยิงถล่มเมืองเด็นปาซาร์ แต่ฝ่ายบาดุงใช้วิธีการพลีชีพของนักรบที่เรียกว่าปูปูตัน (Puputan) โดยบรรดาเชื้อพระวงค์ทรงเผาพระราชวังและแต่งพระองค์เต็มพระยศพร้อมทรงกริช ทรงดำเนินพร้อมกับเหล่านักบวชและข้าราชบริพารเข้าต่อสู้ แต่ทั้งหมดไม่ยอมจำนน กลับแทงตัวตายด้วยกริชแทน เหตุการณ์ในครั้งนั้นมีชาวบาหลีเสียชีวิตประมาณ 4,000 คน เมื่อยึดอาณาจักรบาดุงได้แล้ว ฮอลันดาจึงเข้ายึดอาณาจักรตาบานัน (Tabanan) จับกษัตริย์เป็นเชลย แต่ทรงไม่ยอมจำนนและทรงกระทำอัตนิวิบาตกรรม จากนั้นฮอลันดาได้เข้ายึดครองอาณาจักรการังอะเซ็ม (Karangasem) และเกียญาร์ (Gianyar) แต่อนุญาตให้ราชวงค์ยังทรงปกครองได้ต่อไป ส่วนอาณาจักรอื่นๆ ฮอลันดาได้ขับไล่เจ้าเมืองออกทั้งหมด ในเดือนเมษายน ค.ศ.1908 เมื่อฮอลันดาบุกยึดอาณาจักรเสมาระปุระ เช่นเดียวกับกษัตริย์ตาบานัน กษัตริย์เสมาระปุระทรงไม่ยอมจำนนและทรงกระทำอัตนิวิบาตกรรมเช่นกัน การบุกยึดครั้งนั้นทำให้พระราชวังตามันเกอร์ตาโกซา (Taman Gertha Gosa) ได้รับความเสียหายเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลให้ตั้งแต่ ค.ศ.1911 ฮอลันดาได้ครอบครองดินแดนของบาหลีได้ทั้งหมดและได้รวมบาหลีเข้าเป็นส่วนหนึงของอินเดียตะวันออกของฮอลันดา (Dutch East Indies)<ref name = "Lonely planet: Bali & Lombok"/><ref name = "History for Bali"/><ref>[http://www.asianartmall.com/balihistory.htm History of Bali by Amanda Byron]</ref>
บรรทัด 126:
 
== ประชากร ==
 
{{bar box
|title=สถิติจำนวนผู้นับถือศาสนาต่างๆ ของจังหวัดบาหลี ในปี 2010<ref name=census2010/>
เส้น 143 ⟶ 142:
 
== เศรษฐกิจ ==
{{โครง-ส่วน}}
== วัฒนธรรม ==
 
== วัฒนธรรม ==
ส่วนใหญ่ชาวบาหลีได้รับวัฒนธรรมจาก[[อินเดีย]]เป็นอันมาก เช่น[[ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู]] และ[[ศาสนาพุทธ]] [[รามายณะ]] ตลอดจนอักษร ภาษา ฯลฯ นั้นล้วนมาจากอินเดีย นำมารวมกับวัฒนธรรมประจำท้องถิ่น และนำใช้อย่างแพร่หลาย