ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ไดเมียวขุนนาง
| name = พระเจนดุริยางค์<br> (ปิติ วาทยะกร)
| image = ปิติ วาทยากร.jpg|thumb
| caption =
| caption = พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)
| titles =
| เกิดbirth_date = [[13 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2426]]
| birth_place =
| อสัญกรรมdeath_date = [[25 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2511]] ({{อายุปีและวัน|2426|7|13|2511|12|25}})
| death_place =
| บิดาfather = นายจาคอบ ไฟท์
| มารดาmother = นางทองอยู่
| คู่สมรสwife = นางเบอร์ธา <br> นางบัวคำ <br> นางลิ้ม
| husbandchildren = 10 คน
| บุตร-ธิดา = 10 คน
| work =
| wikilinks =
}}
 
'''พระเจนดุริยางค์ (ปีติ วาทยะกร)''' (มักเขียนเป็น "ปิติ") ชื่อเดิม '''ปีเตอร์ ไฟท์''' (Peter Feit - [[13 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2426]] - [[25 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2511]]) บุคคลสำคัญในวงการดนตรีของ[[ประเทศไทย]] ผู้ริเริ่มการบันทึก[[เพลงไทยเดิม]]ด้วยโน้ตสากลโดยเทียบเสียงให้ตรงกับเครื่องดนตรีไทยทุกชิ้น เรียกว่า '''เพลงไทยประสานเสียง''' (Thai Music Harmony) ของ [[กรมศิลปากร]]
 
เป็นอาจารย์วิชาดนตรีผู้ทุ่มเทสนับสนุนศิษย์เอก [[ครูเอื้อ สุนทรสนาน]] และ ครู[[ชลหมู่ ชลานุเคราะห์]] (นักเชลโล่ ,ผู้เรียบเรียงและอำนวยเพลงวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร ) ครู[[ประสาน สุทัศน์ ณ อยุธยา]] (นัก Cello, Double Bass และผู้เรียบเรียงเสียงประสานแห่งวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) รวมทั้งเป็นผู้วางรากฐาน[[วงดุริยางค์ทหารอากาศ]] และ [[วงดุริยางค์ตำรวจ]]
 
== ประวัติ ==
===วัยต้น===
เกิดที่ [[ตำบลบ้านทะวาย]] [[อำเภอบ้านทะวาย]] [[จังหวัดพระนคร]] เป็นบุตรของนายจาคอบ ไฟท์ (Jakob Feit) [[ชาวเยอรมัน]]กับนางทองอยู่ [[ชาวไทยเชื้อสายมอญ]] มีภรรยาสามคนคือ นางเบอร์ธา, นางบัวคำและ นางลิ้ม มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 10 คน
 
เริ่มเข้าเรียนหนังสือที่[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] [[บางรัก]] เมื่อ [[พ.ศ. 2433]] จบการศึกษาหลักสูตรภาษา[[ฝรั่งเศส]]และภาษา[[อังกฤษ]]เมื่อ [[พ.ศ. 2433]]
 
เริ่มเรียนดนตรีกับบิดาเมื่ออายุ 10 ขวบ ต่อจากนั้นได้ศึกษาดนตรีด้วยตนเองมาโดยตลอดจนมีความรู้และความชำนาญอย่างแตกฉาน และได้เดินทางไปศึกษาต่อมหาวิทยาลัยดนตรี[[เฟรเดริก ชอแป็ง]] ที่กรุง[[วอร์ซอ]] [[ประเทศโปแลนด์]]
 
===วัยหนุ่ม===
สมัครเข้าเป็นครูโรงเรียนอัสสัมชัญขณะอายุได้ 18 ปี เมื่อ [[พ.ศ. 2444]] หลังจากนั้นอีกสองปีจึงเข้ารับราชการในกรมรถไฟหลวง
 
ปี [[พ.ศ. 2460]] [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้โอนมาเป็นครูในกรมมหรสพซึ่งต่อได้โอนมาอยู่[[กรมศิลปากร]] ในตำแหน่งครูวงเครื่องสายฝรั่งหลวง และทำหน้าที่ผู้สอนวิชา[[ดนตรีสากล]]ให้[[สามัคยาจารยสมาคม]]และผลักดันให้วิชาขับร้อง (ด้วยโน้ต) เป็นวิชาเลือกในการสอบเลื่อนวิทยฐานะทั้งชุดของครูประถมและครูมัธยม
 
===วัยปลาย===
โอนสังกัดไปสอนใน[[วงดุริยางค์ทหารอากาศ]]เมื่อ [[พ.ศ. 2483]] เมื่ออายุได้ 57 ปี จนเกษียณอายุราชการ หลังเกษียณแล้วได้รับเชิญเป็นอาจารย์ใน[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]
 
ต่อมาวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 ได้รับพระบรมราชานุญาตให้กลับคืนมีบรรดาศักดิ์ดังเดิม<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=62|issue=11 ง|pages=127|title=ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกลับคืนมีบรรดาศักดิ์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2488/D/011/225.PDF|date=13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488|accessdate=10 ธันวาคม 2561|language=ไทย}}</ref>
ปี [[พ.ศ. 2493]] กรมตำรวจได้ขอยืมตัวให้ไปช่วยก่อตั้ง[[วงดุริยางค์สากลกรมตำรวจ]]และทำงานด้านดนตรี จนถึงแก่กรรมเมื่ออายุได้ 85 ปี 5 เดือน
 
ปี [[พ.ศ. 2493]] กรมตำรวจได้ขอยืมตัวให้ไปช่วยก่อตั้ง[[วงดุริยางค์สากลกรมตำรวจ]]และทำงานด้านดนตรี จนถึงแก่กรรมเมื่ออายุได้ 85 ปี 5 เดือน
 
== ผลงาน ==
เส้น 56 ⟶ 58:
* ''พระเจนดุริยางค์'' ประมวลประวัติครู [[คุรุสภา]]จัดพิมพ์ร่วมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี [[กระทรวงศึกษาธิการ]]. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2535. หน้า 95
{{จบอ้างอิง}}
{{เกิดปี|2426}}
{{ตายปี|2511}}
 
{{เรียงลำดับ|จนดุริยางค์}}
[[หมวดหมู่:นักแต่งเพลงชาวไทย|ปิติ วาทยะกร]]
{{อายุขัย|2426|2511}}
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นพระ|จเจนดุริยางค์]]
[[หมวดหมู่:นักแต่งเพลงชาวไทยเชื้อสายเยอรมัน|ปิติ วาทยะกร]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายมอญ|ปิติ วาทยะกรบรรดาศักดิ์ชั้นพระ]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายเยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:นักแต่งเพลงชาวไทย|ปิติ วาทยะกรเชื้อสายมอญ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนอัสสัมชัญ]]
[[หมวดหมู่:ความสัมพันธ์เยอรมนี–ไทย]]
เส้น 68 ⟶ 70:
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.ม.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.จ.ว.]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร]]