ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระซู่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Đông Minh (คุย | ส่วนร่วม)
fixed one cite error
Đông Minh (คุย | ส่วนร่วม)
fixed cite error
บรรทัด 55:
* '''''D.s. sumatrensis''''' หรือ '''แรดสุมาตราตะวันตก''' มีเหลืออยู่ราว 75-85 ตัวเท่านั้น ส่วนใหญ่พบอยู่ในอุทยานแห่งชาติ Bukit Barisan Selatan และ Gunung Leuser บนเกาะสุมาตรา ปัจจัยคุกคามหลักของสปีชีส์ย่อยนี้คือการสูญเสียถิ่นอาศัยและการดักจับอย่างผิดกฎหมาย มีความแตกต่างทาง[[พันธุศาสตร์|พันธุกรรม]]เล็กน้อยระหว่างแรดสุมาตราตะวันตกและตะวันออก<ref name="IUCN Dss">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6556 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' sumatrensis'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> กระซู่ในทางมาเลเซียตะวันตกมีอีกชื่อหนึ่งคือ ''D.s. niger'' แต่ภายหลังพบว่าเป็นสปีชีส์ย่อยเดียวกับกระซู่ทางตะวันตกของสุมาตรา<ref name=Taxhistory>{{Cite journal | author = Rookmaaker, L.C. | year = 1984 | title = The taxonomic history of the recent forms of Sumatran Rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis) | journal = Journal of the Malayan Branch of the Royal Asiatic Society | volume = 57 | issue = 1 | pages = 12–25 }}</ref>
 
* '''''D.s. harrissoni''''' หรือ '''แรดสุมาตราตะวันออก''' หรือ '''แรดบอร์เนียว''' พบตลอดทั้งเกาะ[[บอร์เนียว]] ปัจจุบันคาดว่าสูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้ว เหลือเพียง 3 ตัวในที่เลี้ยง เป็นตัวผู้ 1 ตัว และตัวเมียอีก 2 ตัว ซึ่งทั้งสามตัวนี้ไม่พร้อมที่จะผสมพันธุ์ ตัวเมียทั้งคู่ (ชื่อ Puntung and Iman) มีสุขภาพที่ไม่ดี และไม่พร้อมที่จะตั้งท้อง ส่วนตัวผู้เพียงตัวเดียว (ชื่อ Tam) มีอัตราการสร้างอสุจิที่ต่ำ และอ่อนแอ<ref name="Sandra">Sandra Sokial (15 September 2015). "Sumatran rhinos living on borrowed time in Sabah". The Rakyat Post. Retrieved 30 September 2015</ref> นอกจากนี้ยังมีรายงานที่ไม่มีการยืนยันว่าพบแรดบอร์เนียวใน[[รัฐซาราวะก์]]และ[[กาลิมันตัน]]<ref name="IUCN Dsh">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6555 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' harrissoni'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> ชื่อของสปีชีส์ย่อยนี้ตั้งขึ้นเป็นเกียรติแก่ ทอม แฮร์ริสัน (Tom Harrisson) ผู้ซึ่งทำงานในด้านสัตววิทยาและมานุษยวิทยาในบอร์เนียวอย่างยาวนานในคริสต์ทศวรรษ 1960<ref>{{Cite journal | title = Description of a new subspecies of Rhinoceros, from Borneo, ''Didermocerus sumatrensis harrissoni'' | author = Groves, C.P. | year = 1965 | journal = Saugetierkundliche Mitteilungen | volume = 13 | issue = 3 | pages = 128–131 }}</ref> แรดบอร์เนียวมีขนาดเล็กกว่าอีกสองสปีชีส์ย่อย<ref name=Taxhistory/>
 
* '''''D.s. lasiotis''''' หรือ '''แรดสุมาตราเหนือ''' เป็นสปีชีส์ย่อยเดียวที่มีการกระจายพันธุ์ใน[[ประเทศอินเดีย]]และ[[ประเทศบังกลาเทศ]] แต่ได้ประกาศว่ามี[[การสูญพันธุ์]]จากประเทศเหล่านั้นไปแล้ว มีรายงานที่ไม่ได้รับการยืนยันว่ามีประชากรกลุ่มเล็ก ๆ ที่ยังเหลือรอดใน[[ประเทศพม่า]]และสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศก็ไม่อำนวยให้ทำการพิสูจน์ข้อเท็จจริงได้<ref name="IUCN Dsl">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6554 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' lasiotis'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> ชื่อ ''lasiotis'' มาจากภาษากรีกเพื่อแสดงถึงลักษณะ"หูเต็มไปด้วยขน" จากการศึกษาในภายหลังพบว่าขนที่หูไม่ได้ยาวไปกว่ากระซู่สปีชีส์ย่อยอื่นเลย แต่ ''D.s. lasiotis'' ยังคงเป็นสปีชีส์ย่อยอยู่ก็เพราะมีขนาดใหญ่กว่าสปีชีส์ย่อยอื่น<ref name=Taxhistory/>
บรรทัด 145:
 
มีกระซู่ 7 ตัวที่ถูกส่งไป[[สหรัฐอเมริกา]] (ที่เหลืออยู่ที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) แต่เมื่อถึงปี พ.ศ. 2540 จำนวนกระซู่ก็เหลือเพียงแค่ 3 ตัวคือ เพศเมียที่สวนสัตว์[[ลอสแอนเจลิส]] เพศผู้ที่สวนสัตว์ซินซินนาติ และเพศเมียที่สวนสัตว์[[เดอะบร็องซ์|บร็องซ์]] ท้ายที่สุดก็ได้ย้ายกระซู่ทั้งสามมาอยู่ที่สวนสัตว์ซินซินนาติ หลังความพยายามที่ล้มเหลวเป็นปี เพศเมียจากลอสแอนเจลิส ''เอมี (Emi)'' ก็ตั้งท้องถึงหกครั้งกับเพศผู้ ''อีปุห์ (Ipuh)'' ห้าครั้งแรกจบลงด้วยความล้มเหลว แต่นักวิจัยได้เรียนรู้จากความล้มเหลวนั้น และด้วยการช่วยเหลือด้วยการบำบัดด้วยฮอร์โมนพิเศษ เอมีจึงให้กำเนิดลูกเพศผู้ที่ชื่อ ''อันดาลัส (Andalas)'' (คำในวรรณคดี[[ภาษาอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]]ที่ใช้เรียก "[[สุมาตรา]]") ในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2544<ref name=CincZoo1>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/Conservation/GlobalConservation/SumatranRhino/BirthAnnouncement/Legacy/legacy.html | title = Andalas - A Living Legacy | work = [[Cincinnati Zoo]] | accessdate = 2007-11-04}}</ref> การให้กำเนิดอันดาลัสนับเป็นความสำเร็จครั้งแรกใน 112 ปี ที่กระซู่สามารถให้กำเนิดลูกในกรงเลี้ยงได้ ลูกกระซู่เพศเมีย ชื่อ ''ซูจี (Suci)'' (มาจากภาษาอินโดนีเซีย แปลว่า "บริสุทธิ์") ก็ถือกำเนิดเป็นตัวถัดมาในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2547<ref name=CincZoo2>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/Conservation/GlobalConservation/SumatranRhino/BirthAnnouncement/announcement.html | title = It's a Girl! Cincinnati Zoo's Sumatran Rhino Makes History with Second Calf | accessdate = 2007-11-04 | work = [[Cincinnati Zoo]]
}}</ref> ในวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2550 เอมีได้ให้กำเนิดลูกเป็นครั้งที่สาม เป็นเพศผู้ตัวที่สอง ชื่อ ''ฮาราปัน (Harapan)'' (มาจากภาษาอินโดนีเซีย แปลว่า "ความหวัง") หรือ แฮร์รี่<ref name=Roth03>{{Cite journal | title = Breeding the Sumatran rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis) in captivity: behavioral challenges, hormonal solutions | author = Roth, T.L. | year = 2003 | journal = Hormones and Behavior | volume = 44 | pages = 31 }}</ref><ref name=CincZoo3>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/VisitorGuide/zoonews/RhinoCalf/itsaboy.html | title = Meet "Harry" the Sumatran Rhino! | accessdate = 2007-11-04 | work = [[Cincinnati Zoo]] }}</ref> ในปี พ.ศ. 2550 อันดาลัสก็ได้ย้ายจากสวนสัตว์ลอสแอนเจลิสกลับสู่[[สุมาตรา]]เพื่อเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมขยายพันธุ์กระซู่กับเพศเมียที่มีสุขภาพดี<ref name=Roth06>{{Cite journal | last = Roth | first = T.L. | coauthors = R.W. Radcliffem, and N.J. van Strien | year = 2006 | title = New hope for Sumatran rhino conservation (abridged from Communique) | journal = International Zoo News | volume = 53 | issue = 6 | pages = 352–353}}</ref><ref name=Watson>{{Cite news | url = http://www.latimes.com/news/printedition/front/la-fg-rhino26apr26,1,6457407,full.story?ctrack=1&cset=true | title = A Sumatran rhino's last chance for love | author = Watson, Paul | work = [[The Los Angeles Times]] | date = April 26, 2007 | accessdate = 2007-11-04 }}</ref> เอมีได้ตายลงเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2552 <ref name="cincinnatizoo1">{{Cite web | url = http://cincinnatizoo.org/conservation/crew/rhino-signature-project/sumatran-rhino/ | title = Emi, In Loving Memory | accessdate = 2016-02-16 | work = [[Cincinnati Zoo]]
}}</ref> Harapan กระซู่ตัวสุดท้ายในสวนสัตว์ Cincinnati ได้กลับสู่อินโดนีเซีย เมื่อปี 2558 เพื่อเข้าสู่โปรแกรมการขยายพันธุ์ ปัจจุบันกระซู่ในที่เลี้ยงทั้งหมดอยู่ในอินโดนีเซีย และมาเลเซีย <ref name="cincinnatizoo2">{{Cite web | url = http://cincinnatizoo.org/blog/2015/08/25/last-sumatran-rhino-in-western-hemisphere-is-leaving-the-cincinnati-zoo/ | title = LAST SUMATRAN RHINO IN WESTERN HEMISPHERE IS LEAVING THE CINCINNATI ZOO | accessdate = 2016-02-16 | work = [[Cincinnati Zoo]]
}}</ref>
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กระซู่"