ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมาใน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|แจ็กคัล}}
{{Taxobox
| name = หมาใน
บรรทัด 24:
|synonyms = *''Canis alpinus'' <small>Pallas, 1811</small>
}}
'''หมาใน''', '''หมาป่าเอเชีย''' หรือ '''หมาแดง''' เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ชนิดหนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Cuon alpinus'' ใน[[วงศ์สุนัข]] (Canidae) เป็น[[หมาป่า]]ที่มีขนาดใหญ่กว่า[[หมาจิ้งจอก]] จมูกสั้น ใบหูกลมมีขนาดใหญ่ ขนตามลำตัวค่อนข้างสั้นมี[[สีน้ำตาล]][[สีแดง|แดง]] สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่าบริเวณหลัง หางยาวเป็นพวง ปลายหางมี[[สีเทา]]เข้มหรือ[[ดำ]] จัดเป็น[[สิ่งมีชีวิต]]เพียง[[สปีชีส์|ชนิด]]เดียวที่อยูใน[[สกุล (ชีววิทยา)|อยูในสกุล]] ''Cuon'' ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน
 
มีความยาวลำตัวและหัว 80–90 [[เซนติเมตร]] ความยาวหาง 30.5–34.5 เซนติเมตร น้ำหนักในเพศผู้ 10–21 [[กิโลกรัม]] เพศเมีย 10–13 กิโลกรัม หมาในมีฟันที่แข็งแรงแต่มีฟันกรามล่างเพียงข้างละ 2 ซี่เท่านั้น ซึ่งต่างจากสัตว์ในวงศ์สุนัขชนิดอื่น ๆ <ref>หน้า 7, ''เล่นสนุกกันแค่สองพี่น้อง''. '''ไทยรัฐ'''ปีมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง 68ทำให้มีชนิดย่อย ฉบับที่ 21665:ถึง วันอังคารที่11 16ชนิด พฤษภาคมพบตั้งแต่ภาคใต้ของไซบีเรีย พ.ศ.เรื่อยมาจนถึงคาบสมุทรเกาหลี, 2560เนปาล, แรมอินเดีย, 6ไทย, ค่ำลาว, เดือนกัมพูชา, 6เวียดนาม ปีระกา</ref>และเกาะชวาในอินโดนีเซีย
 
มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ โดยฝูงหนึ่ง ๆ มีสมาชิกตั้งแต่ 6–12 ตัว โดยสมาชิกแต่ละตัวจะมีหน้าที่ช่วยกันล่าเหยื่อที่มีขนาดใหญ่ เช่น [[กระทิง]] [[ควายป่า]] หรือ [[กวางป่า]] มีความเชื่อว่า ก่อนล่าเหยื่อจะ[[ปัสสาวะ]]รดพื้นหรือใบไม้เมื่อเหยื่อดมถูกจะเกิดความหวาดกลัวจนยืนแข็งทำอะไรไม่ถูก จึงเชื่อว่า สามารถทำให้เหยื่อตาบอดได้ด้วยวิธีนี้
มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง ทำให้มี[[ชนิดย่อย]] ถึง 11 ชนิด พบตั้งแต่ภาคใต้ของ[[ไซบีเรีย]] เรื่อยมาจนถึง[[คาบสมุทรเกาหลี]], [[เนปาล]], [[อินเดีย]], [[ไทย]], [[ลาว]], [[กัมพูชา]], [[เวียดนาม]] และ[[เกาะชวา]]ใน[[อินโดนีเซีย]]
 
ฝูงหมาในมีความใกล้ชิดกันทางสายเลือด ภายในกลุ่มมีสมาชิกตั้งแต่ 2–3 ครอบครัว ออกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน แต่ในบางครั้งอาจล่าในเวลากลางคืนหรือพลบค่ำหรือเช้าตรู่ได้ อาหารโดยปกติ ได้แก่ สัตว์กินพืชขนาดใหญ่ เช่น [[กวางป่า]], [[เก้ง]] และ[[Lepus (genus)|กระต่ายป่า]] แต่ในบางสถานการณ์ที่อาหารขาดแคลน อาจกินลูกตัวเองเป็นอาหารได้ หมาในระบบประสาทหู ตา และการดมกลิ่นที่ดีเยี่ยม สามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 9 สัปดาห์ ออกลูกครั้งละ 8–10 ตัว ตามโพรงดินหรือใน[[ถ้ำ]]ที่ปลอดภัย แม่หมาในมี[[เต้านม]] 8 คู่ ลูกที่เกิดใหม่จะมีสีขนสีน้ำตาลเทา มีอายุในที่เลี้ยงประมาณ 16 ปี ในธรรมชาติราว 10 ปี
มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ โดยฝูงหนึ่ง ๆ มีสมาชิกตั้งแต่ 6–12 ตัว โดยสมาชิกแต่ละตัวจะมีหน้าที่ช่วยกันล่าเหยื่อที่มีขนาดใหญ่ เช่น [[กระทิง]] [[ควายป่า]] หรือ [[กวางป่า]] มีความเชื่อว่า ก่อนล่าเหยื่อจะ[[ปัสสาวะ]]รดพื้นหรือใบไม้เมื่อเหยื่อดมถูกจะเกิดความหวาดกลัวจนยืนแข็งทำอะไรไม่ถูก จึงเชื่อว่า สามารถทำให้เหยื่อตาบอดได้ด้วยวิธีนี้
 
ฝูงหมาในมีความใกล้ชิดกันทางสายเลือด ภายในกลุ่มมีสมาชิกตั้งแต่ 2–3 ครอบครัว ออกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน แต่ในบางครั้งอาจล่าในเวลากลางคืนหรือพลบค่ำหรือเช้าตรู่ได้ อาหารโดยปกติ ได้แก่ สัตว์กินพืชขนาดใหญ่ เช่น [[กวางป่า]], [[เก้ง]] และ[[Lepus (genus)|กระต่ายป่า]] แต่ในบางสถานการณ์ที่อาหารขาดแคลน อาจกินลูกตัวเองเป็นอาหารได้ หมาในระบบประสาทหู ตา และการดมกลิ่นที่ดีเยี่ยม สามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 9 สัปดาห์ ออกลูกครั้งละ 8–10 ตัว ตามโพรงดินหรือใน[[ถ้ำ]]ที่ปลอดภัย แม่หมาในมี[[เต้านม]] 8 คู่ ลูกที่เกิดใหม่จะมีสีขนสีน้ำตาลเทา มีอายุในที่เลี้ยงประมาณ 16 ปี ในธรรมชาติราว 10 ปี
[[ไฟล์:2012-bandipur-dhole-sambar.jpg|thumb|left|ฝูงหมาในล่ากวางป่า ที่[[อุทยานแห่งชาติบันดิเปอร์]] [[ประเทศเนปาล]]]]
สถานภาพในประเทศไทย เป็นหมาป่า 1 ใน 2 ชนิดที่สามารถพบได้ในประเทศไทย (อีกหนึ่งชนิด คือ [[จิ้งจอกทอง|หมาจิ้งจอก]]) จากเดิมที่เคยพบในป่าทั่วประเทศ ปัจจุบันเชื่อว่าเหลือเพียงใน[[เขตรักษาพันธุ์สัตวป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง|เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง]] [[จังหวัดอุทัยธานี]] เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ และที่[[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]]เท่านั้น และเป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]] ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]] <ref name="สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน">{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=กองทุนสัตว์ป่าโลก
|ชื่อหนังสือ=สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หมาใน"