ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังข์ทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tropicalkitty (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7998538 สร้างโดย 2001:44C8:4186:AD12:A35:B84A:74DC:A979 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 3:
เดิมทีนั้นเป็นบทเล่นละครในมีมาแต่กรุงสุโขทัยยังเป็นราชธานีถึงกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]ทรงตัดเรื่องสังข์ทองตอนปลาย (ตั้งแต่ตอนพระสังข์หนีนางพันธุรัต) มาทรงพระราชนิพนธ์ให้ละครหลวงเล่น<ref name=":0">[http://vajirayana.org/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87/%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B3 บทละครนอกเรื่องสังข์ทอง]</ref> มีตัวละครที่เป็นรู้จักกันเป็นอย่างดี คือ [[เจ้าเงาะ]]ซึ่งคือ[[พระสังข์]] กับ[[นางรจนา]] เนื้อเรื่องมีความสนุกสนานและเป็นนิยม จึงมีการนำเนื้อเรื่องบางบทที่นิยม ได้แก่ บทพระสังข์ได้นางรจนา เพื่อนำมาประยุกต์เป็นการแสดงชุด '''รจนาเสี่ยงพวงมาลัย'''
 
ในคำนำหนังสือ"พระราชนิพจน์บทละครเรื่องสังข์ทอง" ของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ได้กล่าวไว้ว่า<ref name=":0" />ยุ้ย
 
{{คำพูด|...นิทานเรื่องสังข์ทองนี้มีในคัมภีร์ปัญญาสชาดก เรียกว่าสุวัณณสังขชาดก ถึงเชื่อถือกันว่าเป็นเรื่องจริง พวกชาวเมืองเหนืออ้างว่าเมืองทุ่งยั้งเป็นเมืองท้าวสามนต์ ยังมีลานศิลาแลงแห่ง ๑ ว่าเป็นสนามคลีของพระสังข์ อยู่ไมห่างวัดพระมหาธาตุนัก ที่ในวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุ ฝาผนังก็เขียนเรื่องสังข์ทอง เป็นฝีมือช่างครั้งกรุงเก่ายังปรากฏอยู่จนทุกวันนี้ ทางหัวเมืองฝ่ายตะวันตกก็อ้างว่า เมืองตะกั่วป่าเป็นเมืองท้าวสามนต์อีกแห่ง ๑ เรียกภูเขาลูก ๑ ว่าเขาขมังม้า…}}