ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระคันธารราฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kraiwitlee (คุย | ส่วนร่วม)
เติมชื่อในวงเล็บ
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่จำเป็น
บรรทัด 2:
|official_name = พระคันธารราฐ
|full_name = พระคันธารราฐ
|common_name = พระคันธารราฐ
(Phra Gandhara Rath)
|image_object = พระคันธารราฐ วัดหน้าพระเมรุ Dvaravati Buddha Wat Na Phramen.jpg
|short_describtion = พระประธานในพระวิหารน้อย [[วัดหน้าพระเมรุ]]
เส้น 11 ⟶ 10:
|tall = 5.2 เมตร
|material = แกะสลักจากศิลาเขียว
|place_of_enshrined = พระวิหารน้อย[[วัดหน้าพระเมรุ]] (Wat Na Phra Meru) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
|important = เป็นพระพุทธรูปศิลาเขียวขนาดใหญ่จากสมัยทวาราวดี เป็น 1 ใน 5 องค์ของพระพุทธรูปศิลาในประเทศไทยที่สันนิษฐานว่าสร้างในยุคเดียวกัน และเป็น 1 ใน 6 องค์ของพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในโลกที่สร้างจากศิลา
|footnote = วัดหน้าพระเมรุ อยู่ในตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
}}
 
พระคันธารราฐ (Phra Gandhara Rath) [[วัดหน้าพระเมรุ]] ([[วัดหน้าพระเมรุ|Wat Na Phra Meru]]) หรือวัดพระเมรุราชิการามวรวิหาร ซึ่งตั้งอยู่ในตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประดิษฐานเป็นพระพุทธรูปประธานอยู่ในพระวิหารน้อย หรือพระวิหารเขียน ซึ่งอยู่ด้านข้างของพระอุโบสถ (ด้านขวาของพระอุโบสถเมื่อหันหน้าเข้าสู่ด้านหน้าของพระอุโบสถ)
 
พุทธลักษณะ เป็นพระพุทธรูปศิลาเขียว ศิลปะทวารวดี ประทับนั่งห้อยพระบาท พระหัตถ์ทั้งสองข้างวางคว่ำอยู่บนพระชานุ (เข่า) เบื้องพระปฤษฎางค์ (เบื้องหลัง) มีพนักพิง และเหนือขึ้นไปหลังพระเศียรมีประภามณฑลหรือรัศมี มีสลักลายที่ขอบ คาดว่าเดิมเป็นพระพุทธรูปปางปฐมเทศนา แต่จากการบูรณะเมื่อขุดพบและนำมาประดิษฐานที่วัดหน้าพระเมรุ พระหัตถ์ทั้งสองด้านเปลี่ยนเป็นวางคว่ำอยู่บนพระชานุ (เข่า) มีขนาดหน้าตักกว้าง 1.7 เมตร สูง 5.2 เมตร<ref>[Ebook] ๑๐๘ องค์พระปฏิมา พระพุทธรูปคู่แผ่นดิน กรมการศาสนา <nowiki>http://www.dra.go.th/th/cmsdetail-4-59-1-3213.html</nowiki></ref> ศิลาเขียวที่สร้างเป็นวัสดุหินปูนที่มีสีเขียวแก่ (Bluish Limestone)