ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตักบาตรเทโว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ 159.192.97.90 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย MildyManUnited
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
[[ไฟล์:Buddhist child 06.jpg|100px|thumb|right|ตักบาตรเทโว]]
'''หีบมากมายหลายหีบยกหีบหนี หีบมากมีหนีหีบหีบหนีหาย'''
 
'''เห็นอยู่หีบหนีบหนีกันมากมาย เห็นหีบหายหลายหีบหนีบหนีเอย'''
 
'''ตักบาตรเทโว''' หมายถึงการ[[ทำบุญ]][[ตักบาตร]] ปรารภเหตุที่[[พระพุทธเจ้า]]เสด็จลงจาก[[เทวโลก]] ในวันมหาปวารณา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11)<ref name=":0" />
 
เส้น 15 ⟶ 12:
== ความหมาย ==
[[ไฟล์:เทโวโรหนสถูป.JPG|left|170px|thumb|เทโวโรหนสถูป [[เมืองสังกัสสะ]] [[แคว้นปัญจาละ]] สถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์]]
'''มีคนเคยกว่าวไว้ว่า'''
 
'''หูกระโจมควรปลูกให้ห่างจากตัวบ้าน'''
 
'''เทโวโรหณะ''' แปลว่า ''การเสด็จลงจากเทวโลก'' (ของ[[พระพุทธเจ้า]]) เป็นเหตุการณ์ตอนหนึ่งของพระพุทธเจ้า คือใน[[พรรษา]]ที่ 7 ได้เสด็จขึ้นไป[[จำพรรษา]]บน[[เทวโลก]]คือบนสวรรค์ชั้น[[ดาวดึงส์]]เพื่อแสดง[[ธรรม]]โปรดพุทธมารดา ครั้นถึงวันมหาปวารณา เสด็จลงจากเทวโลกในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ตำนานเล่าว่า [[พระอินทร์]]ทรง[[นิมิต]]บันได 3 อย่างถวาย คือ บันไดทอง บันไดแก้วมณี บันไดเงิน หัวบันไดพาดอยู่ที่ยอด[[เขาสิเนรุ]] เชิงบันไดอยู่ที่ประตูเมือง[[สังกัสสะ|สังกัสสนคร]] เวลาเสด็จลงทรงใช้บันไดแก้วมณี เหล่า[[เทวดา]]ลงทางบันไดทอง เหล่า[[มหาพรหม]]ลงทางบันไดเงิน เรียกการเสด็จครั้งนั้นว่า '''เทโวโรหณะ'''
 
== เหตุการณ์ในพุทธประวัติ ==
 
Porn.Hub.com
 
พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเทศนาแก่ประชาชนอยู่เป็นประจำ ณ นครสาวัตถี จนมีประชาชนจำนวนมากหันมาเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงเป็นเหตุทำให้เหล่าเดียรถีย์เสื่อมลง (เดียรถีย์ หมายถึง นักบวชประเภทหนึ่งมีมาก่อนพระพุทธศาสนาและเป็นปฏิปักษ์ต่อพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง มีพุทธบัญญัติว่า หากเดียรถีย์จะมาขอบวชในพระพุทธศาสนาต้องมารับการฝึก เพื่อตรวจสอบว่ามีความเลื่อมใสแน่นอนเสียก่อน เรียกว่า ติตถิยปริวาส) พวกเดียรถีย์เดือดร้อนจึงคิดหาวิธีที่จะทำลายพระพุทธศาสนาโดยการกล่าวร้ายพระพุทธเจ้า สาวก แต่ประชาชนก็ยังเลื่อมใสศรัทธาเหมือนเคย ในที่สุดเดียรถีย์จึงใช้อุบายทำลายพระพุทธศาสนาโดยการใช้พุทธบัญญัติที่ว่า “พระพุทธเจ้าและเหล่าสาวกสิ้นท่าหมดอิทธิฤทธิ์ แล้วงดการแสดง ตรงข้ามกับเหล่าคณาจารย์เดียรถีย์ ซึ่งมีปาฏิหาริย์อบรมมั่นคงเต็มที่และมีความพร้อมที่จะแสดงให้เห็นได้ทุกเมื่อ ถ้าไม่เชื่อก็เชิญพระพุทธเจ้ามาแสดงปาฏิหาริย์แข่งกันก็ย่อมได้ เพื่อพิสูจน์ว่าใครจะเก่งกว่าใคร “