ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชกฤษฎีกามิลาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:IMG 6735 - Milano - S. Giorgio al Palazzo - Lapide 1978 x Editto di Milano -313-. - Foto Giovanni Dall'Orto - 8-Mar-2007.jpg|thumb|250px|ป้ายประกาศฉลองการออกพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลาน (ค.ศ. 1978) ที่วังซึ่งในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของวัดซานจอร์โจอัลพาลัซโซที่[[มิลาน]], [[ประเทศอิตาลี]]]]
 
'''พระราชกฤษฎีกาแห่งมิลาน''' ({{lang-en|Edict of Milan}}) เป็นจดหมายเวียนลงชื่อโดย[[จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1]] and และ[[จักรพรรดิลิซินิอุส]]ซึ่งประกาศให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาต่อประชาชนใน[[จักรวรรดิโรมัน]]จดหมายฉบับนี้ออกเมื่อปี ค.ศ. 313 หลังจากสมัยของการปราบปรามผู้นับถือ[[ศาสนาคริสต์]]โดย[[จักรพรรดิไดโอคลีเชียน]]
 
จดหมายที่ลงชึ่อโดยจักรพรรดิสององค์เป็นจดหมายเวียนในกลุ่มเจ้าเมืองทาง[[จักรวรรดิโรมันตะวันออก]]<ref>It brought the governance of the Eastern Empire into line with the tolerance now operating in Constantine's dominions in the West. The Edict's context in Constantine's career is explored in John Curran, "Constantine and the Ancient Cults of Rome: The Legal Evidence" ''Greece & Rome'' 2nd Series '''43'''.1 (April 1996, pp 68-80): Edict of Milan, p. 68f.</ref>ซึ่งประกาศว่าจักรวรรดิจะเป็นทำตัวเป็นกลางในการนับถือศาสนาของประชาชน ซึ่งเป็นการยกเลิกอุปสรรคต่างๆ ในการนับถือ[[คริสต์ศาสนา]]และศาสนาอื่นๆ<ref>"...we have also conceded to other religions the right of open and free observance of their worship for the sake of the peace of our times, that each one may have the free opportunity to worship as he pleases; this regulation is made we that we may not seem to detract from any dignity or any religion." (Edict of Milan as quoted by Lactantius, ''De Mortibus Persecutorum'' ["On the Deaths of the Persecutors"] chapters 34, 35.).</ref> จดหมาย “ประกาศอย่างจะแจ้งว่าผู้ลงชื่อของกฎนี้ไม่มีความประสงค์จะลงโทษผู้นับถือ[[ลัทธินิยม]]ที่ไม่ใช่คริสต์ศาสนา”<ref>Curran 1996:69, quoting the Edict: "This we have done to ensure that no cult or religion may seem to have been impaired by us."</ref>