ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชนกรรมาชีพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
'''ชนกรรมาชีพ''' ({{lang-en|proletariat}}) เป็นคำใช้อธิบายชนชั้น[[ลูกจ้าง]] (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนงานอุตสาหกรรม) ในสังคมทุนนิยมซึ่งครอบครองมูลค่าทางวัตถุ (material value) ที่สำคัญอย่างเดียว คือ พลังแรงงาน (labour-power) หรือความสามารถในการทำงาน<ref>[http://www.thefreedictionary.com/proletariat proletariat]. Accessed: 6 June 2013.</ref> สมาชิกของชนชั้นนี้เรียก ชนกรรมาชีพ
 
== การใช้ในทฤษฎีลัทธิมากซ์มาร์ก ==
ทฤษฎี[[ลัทธิมากซ์]]ใช้คำว่า ชนกรรมาชีพ กับชนชั้นทางสังคมซึ่งไม่เป็นเจ้าของ[[ปัจจัยการผลิต]]และสามารถยังชีพได้ด้วยวิธีเดียว คือ ขายพลังแรงงานของตน<ref>{{cite book |last=Marx|first=Karl|title=Das Kapital, Kritik der politischen Ökonomie|trans_title=Capital: Critique of Political Economy|year=1887|publisher=Progress Publishers|location=Moscow|url=http://www.marxists.org/archive/marx/works/1867-c1/ch06.htm|authorlink=Karl Marx|editor=Frederick Engels|accessdate=10 February 2013|format=html|chapter=Chapter Six: The Buying and Selling of Labour-Power}}</ref>เพื่อให้ได้[[ค่าจ้าง]]หรือ[[เงินเดือน]] ชนกรรมาชีพเป็นลูกจ้าง ทว่าบ้างอาจเรียกผู้ได้รับเงินเดือนว่า salariat อย่างไรก็ดี สำหรับมากซ์ ลูกจ้างอาจได้เงินเดือนแทนที่จะได้ค่าจ้างโดยตัวเอง ลัทธิมากซ์มองชนกรรมาชีพและ[[ชนชั้นกระฎุมพี]] (bourgeoisie) ว่าอยู่ในฐานะที่ขัดแย้งกัน เพราะคนงานปรารถนาให้ค่าจ้างของตัวให้สูงที่สุดเท่าที่เป็นไปได้โดยอัตโนมัติ ขณะที่เจ้าของและตัวแทนปรารถนาให้ค่าจ้าง (ราคา) ต่ำที่สุดเท่าที่เป็นไปได้