ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูทวิช ฟัน เบทโฮเฟิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7970568 สร้างโดย 2403:6200:8846:F591:FCAD:A139:DE10:7128 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{แปลเพิ่ม|lang=วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ|langcode=en|otherarticle=Ludwig van Beethoven}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}ลูทวิก วาน เบโทเฟน ({{lang-de|Ludwig van Beethoven}}, {{IPA-de|ˈluːtvɪç fan ˈbeːt.hoːfn̩|pron}}; [[16 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1770]] – [[26 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1827]]) เป็น[[คีตกวี]]และนักเปียโน[[ชาวเยอรมัน]] เกิดที่เมือง[[บ็อน]] [[ประเทศเยอรมนี]]
[[ไฟล์:Beethoven.jpg|250px|thumb|right|ลูทวิช ฟัน เบทโฮเฟิน ใน [[ค.ศ. 1820]]]]
 
{{ต้องการอ้างอิง}}ลูทวิก'''ลูทวิช วานฟัน เบโทเฟนเบทโฮเฟิน''' ({{lang-de|Ludwig van Beethoven}}, {{IPA-de|ˈluːtvɪç fan ˈbeːt.hoːfn̩|pron}}; [[16 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1770]] – [[26 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1827]]) เป็น[[คีตกวี]]และนักเปียโน[[ชาวเยอรมัน]] เกิดที่เมือง[[บ็อน]] [[ประเทศเยอรมนี]]
 
เบทโฮเฟินเป็นตัวอย่างของศิลปินยุคจินตนิยมผู้โดดเดี่ยว และไม่เป็นที่เข้าใจของบุคคลในยุคเดียวกันกับเขา ในวันนี้เขาได้กลายเป็น[[คีตกวี]]ที่มีคนชื่นชมยกย่องและฟังเพลงของเขากันอย่างกว้างขวางมากที่สุดคนหนึ่ง ตลอดชีวิตของเขามีอุปสรรคนานัปการที่ต้องฝ่าฟัน ทำให้เกิดความเครียดสะสมในใจเขา ในรูปภาพต่าง ๆ ที่เป็นรูปเบทโฮเฟิน สีหน้าของเขาหลายภาพแสดงออกถึงความเครียด แต่ด้วยจิตใจที่แข็งแกร่งของเขา ก็สามารถเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ในชีวิตของเขาได้ ตำนานที่คงอยู่นิรันดร์เนื่องจากได้รับการยกย่องจากคีตกวีจินตนิยมทั้งหลาย เบทโฮเฟินได้กลายเป็นแบบอย่างของพวกเขาเหล่านั้นด้วยความเป็นอัจฉริยะที่ไม่มีใครเทียมทาน [[ซิมโฟนี]]ของเขา (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบทโฮเฟิน)|ซิมโฟนีหมายเลข 5]] [[ซิมโฟนีหมายเลข 6 (เบทโฮเฟิน)|ซิมโฟนีหมายเลข 6]] [[ซิมโฟนีหมายเลข 7 (เบทโฮเฟิน)|ซิมโฟนีหมายเลข 7]] และ[[ซิมโฟนีหมายเลข 9 (เบทโฮเฟิน)|ซิมโฟนีหมายเลข 9]]) และ[[คอนแชร์โต]]สำหรับ[[เปียโน]]ที่เขาประพันธ์ขึ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[คอนแชร์โต]][[เปียโนคอนแชร์โตหมายเลข 4 (เบทโฮเฟิน)|หมายเลข 4]] และ[[เปียโนคอนแชร์โตหมายเลข 5 (เบทโฮเฟิน)|หมายเลข 5]]) เป็นผลงานที่ได้รับความนิยมมากที่สุด แต่ก็มิได้รวมเอาความเป็นอัจฉริยะทั้งหมดของคีตกวีไว้ในนั้น
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Beethoven house.jpg|thumb|บ้านเกิดของ เบโทเฟน เบทโฮเฟินที่เมืองบ็อน]]
 
[[ไฟล์:Thirteen-year-old Beethoven.jpg|thumb|ภาพวาด ลูทวิช ลูทวิกฟัน วาน เบโทเฟนเบทโฮเฟิน ใน [[ค.ศ. 1783]]]]
 
[[ไฟล์:Beethoven Hornemann.jpg|thumb|ภาพวาด ลูทวิกลูทวิช วานฟัน เบโทเฟนในเบทโฮเฟิน ใน [[ค.ศ. 1803]]]]
 
[[ไฟล์:Beethoven Mähler 1815.jpg|thumb|ภาพวาด ลูทวิกลูทวิช วานฟัน เบโทเฟนในเบทโฮเฟิน ใน [[ค.ศ. 1815]]]]
 
[[ไฟล์:Beethoven Waldmuller 1823.jpg|thumb|ภาพวาด ลูทวิช ลูทวิกฟัน วานเบทโฮเฟิน เบโทเฟนในใน [[ค.ศ. 1823]]]]
 
ลูทวิช ฟัน เบทโฮเฟินเกิดที่เมือง[[บ็อน]] ([[ประเทศเยอรมนี]]) เมื่อวันที่ [[16 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2313|ค.ศ. 1770]] และได้เข้าพิธีศีลจุ่มในวันที่ [[17 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2313|ค.ศ. 1770]] เป็นลูกชายคนรองของโยฮัน ฟัน เบทโฮเฟิน (Johann van Beethoven) กับมารีอา มัคเดเลนา เคเวอริช (Maria Magdalena Keverich) ขณะที่เกิดบิดามีอายุ 30 ปี และมารดามีอายุ 26 ปี ชื่อต้นของเขาเป็นชื่อเดียวกับปู่ และพี่ชายที่ชื่อลูทวิชเหมือนกัน แต่เสียชีวิตตั้งแต่อายุยังน้อย ครอบครัวของเขามีเชื้อสายเฟลมิช (จากเมือง[[เมเคอเลิน]]ใน[[ประเทศเบลเยียม]]) ซึ่งก็เป็นเหตุผลว่าเหตุใด นามสกุลของเขาจึงขึ้นต้นด้วย ''ฟัน'' ไม่ใช่ ''ฟ็อน'' ตามที่หลายคนเข้าใจ
เส้น 51 ⟶ 54:
[[ค.ศ. 1826]] โรคเรื้อรังในลำไส้ที่เบทโฮเฟินเป็นมานานก็กำเริบหนัก หลังจากรักษาแล้ว ได้เดินทางมาพักฟื้นที่บ้านน้องชายบนที่ราบสูง แต่อารมณ์แปรปรวนก็ทำให้เขาทะเลาะกับน้องชายจนได้ เขาตัดสินใจเดินทางกลับเวียนนาในทันที แต่รถม้าที่นั่งมาไม่มีเก้าอี้และหลังคา เบทโฮเฟินทนหนาวมาตลอดทาง ทำให้เป็นโรคปอดบวม แต่ไม่นานก็รักษาหาย
 
[[12 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1826]] โรคเรื้อรังในลำไส้และตับของเบโทเฟนกำเริบหนักเบทโฮเฟินกำเริบหนัก อาการทรุดลงตามลำดับ
 
[[26 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2369|ค.ศ. 1827]] เบโทเฟนเบทโฮเฟินเสียชีวิตลง พิธีศพของเขาจัดขึ้นอย่างอลังการในโบสถ์เซนต์ทรินิตี โดยมีผู้มาร่วมงานกว่า 20,000 คน ศพของเขาถูกฝังอยู่ที่สุสานกลางในกรุง[[เวียนนา]]
 
เบโทเฟนเบทโฮเฟินมีชีวิตอยู่ตรงกับระหว่างรัชสมัยของ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]ในสมัยธนบุรี และ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ในสมัยรัตนโกสินทร์
 
== รูปแบบทางดนตรีและนวัตกรรม ==
 
ในประวัติศาสตร์ดนตรีแล้ว ผลงานของ เบโทเฟนเบทโฮเฟินแสดงถึงช่วงรอยต่อระหว่างยุคคลาสสิก ([[ค.ศ. 1750]] - [[ค.ศ. 1810]]) กับยุคจินตนิยม ([[ค.ศ. 1810]] - [[ค.ศ. 1900]]) ใน[[ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบทโฮเฟิน)|ซิมโฟนีหมายเลข 5]] ของเขา เบทโฮเฟินได้นำเสนอทำนองหลักที่เน้นอารมณ์รุนแรงในท่อนท่อน เช่นเดียวกับในอีกสามท่อนที่เหลือ (เป็นรูปแบบที่พบเห็นได้บ่อยในผลงานประพันธ์ช่วงวัยเยาว์ของเขา) ช่วงต่อระหว่างท่อนที่สามกับท่อนสุดท้าย เป็นทำนองหลักของ[[อัตทากา]]โดยไม่มีการหยุดพัก และท้ายสุด ซิมโฟนีหมายเลข 9 ได้มีการนำ[[การขับร้องประสานเสียง]]มาใช้ในบทเพลง[[ซิมโฟนี]]เป็นครั้งแรก (ในท่อนที่สี่) ผลงานทั้งหลายเหล่านี้นับเป็นนวัตกรรมทางดนตรีอย่างแท้จริง
 
เขาได้ประพันธ์[[อุปรากร]]เรื่อง ''"ฟิเดลิโอ"'' โดยใช้เสียงร้องในช่วงความถี่เสียงเช่นเดียวกับเครื่องดนตรีในวง[[ซิมโฟนี]] โดยมิได้คำนึงถึงขีดจำกัดของนักร้องประสานเสียงแต่อย่างใด
เส้น 74 ⟶ 77:
 
=== ผลงานซิมโฟนี ===
[[โจเซฟ ไฮเดิน]]ได้ประพันธ์[[ซิมโฟนี]]ไว้กว่า 104 บท [[ว็อล์ฟกัง อมาเดอุส โมทซาร์ท|โมทซาร์ท]]ประพันธ์ไว้กว่า 40 บท หากจะนับว่ามีคีตกวีรุ่นพี่เป็นตัวอย่างที่ดีแล้ว เบโทเฟนเบทโฮเฟินไม่ได้รับถ่ายทอดมรดกด้านความรวดเร็วในการประพันธ์มาด้วย เพราะเขาประพันธ์[[ซิมโฟนี]]ไว้เพียง 9 บทเท่านั้น และเพิ่งจะเริ่มประพันธ์ซิมโฟนีหมายเลข 10 แต่สำหรับซิมโฟนีทั้งเก้าบทของเบทโฮเฟินนั้น ทุกบทต่างมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
 
ซิมโฟนีสองบทแรกของเบทโฮเฟินได้รับแรงบันดาลใจและอิทธิพลจากดนตรีใน[[ยุคคลาสสิก]] อย่างไรก็ดี ซิมโฟนีหมายเลข 3 ที่มีชื่อเรียกว่า ''"อิรอยกา"'' จะเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในการเรียบเรียงวง[[ออร์เคสตรา]]ของเบทโฮเฟิน ซิมโฟนีบทนี้แสดงถึงความทะเยอทะยานทางดนตรีมากกว่าบทก่อน ๆ โดดเด่นด้วยความสุดยอดของเพลงทุกท่อน และการเรียบเรียงเสียงประสานของวง[[ออร์เคสตรา]] เพราะแค่ท่อนแรกเพียงอย่างเดียวก็มีความยาวกว่าซิมโฟนีบทอื่น ๆ ที่ประพันธ์กันในสมัยนั้นแล้ว ผลงานอันอลังการชิ้นนี้ได้ถูกประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่[[นโปเลียน โบนาปาร์ต]] และส่งเบทโฮเฟินขึ้นสู่ตำแหน่งสุดยอดสถาปนิกทางดนตรี และเป็นคีตกวีคนแรกแห่ง[[ยุคจินตนิยม]]