ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การลงประชาทัณฑ์ลอราและแอล. ดี. เนลสัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Đông Minh (คุย | ส่วนร่วม)
fixed one cite error
Đông Minh (คุย | ส่วนร่วม)
fixed one cite error
บรรทัด 18:
การลงประชาทัณฑ์อาจได้แก่การจับคนขึ้นแขวน ผู้กระทำอาจเป็นคนกลุ่มเล็ก ๆ ในเวลากลางคืน หรืออาจกระทำต่อหน้ามหาชนในเวลากลางวัน อย่างหลังนี้เรียกว่า การลงประชาทัณฑ์ให้ชม (spectacle lynching) ผู้เข้าชมการลงประชาทัณฑ์อาจเป็นทุกคนในชุมชนนั้น ๆ บางทีหนังสือพิมพ์ก็ลงข่าวล่วงหน้า และมีรถไฟเที่ยวพิเศษเพื่อนำคนในพื้นที่ห่างไกลมาดูการลงประชาทัณฑ์<ref name=Apel2007p44>{{harvnb|Apel|Smith|2007|p=44}}.</ref> ตัวอย่างเช่น ใน[[การลงประชาทัณฑ์เจสซี วอชิงตัน]] (Jesse Washington) ที่[[เท็กซัส]]เมื่อ ค.ศ. 1916 มีผู้มาชมถึง 10,000 คน รวมถึงนายกเทศมนตรีและผู้บัญชาการตำรวจท้องถิ่น<ref>{{harvnb|Wood|2009|p=[https://books.google.com/books?id=txZ8PZRsk0YC&pg=PA179 179]}}; [[Elisabeth Freeman|Freeman, Elizabeth]] (July 1916). [http://library.brown.edu/pdfs/1292363091648500.pdf "The Waco Horror"], ''The Crisis'' (NAACP), p. 5.</ref>
 
นอกเหนือจากการจับแขวนแล้ว ผู้เคราะห์ร้ายอาจยังถูกทรมานก่อนเผาทั้งเป็น บางทีก็แยกชิ้นส่วนศพออกขายเป็นของที่ระลึก<ref>{{harvnb|Apel|Smith|2007|pp=44, 47}}.</ref><ref name=Moehringer2000p2>{{harvnb|Moehringer|2000|p=[http://articles.latimes.com/2000/aug/27/news/mn-11152/2 2]}}.</ref>
 
ผู้กระทำเป็นได้ทั้งคนผิวขาวและคนผิวดำ แต่สารทางการเมือง กล่าวคือ การส่งเสริม[[ความเป็นใหญ่ของคนผิวขาว]] และการลดอำนาจของคนผิวดำ ก็เป็นปัจจัยสำคัญอันหนึ่ง นอกจากนี้ การลงประชาทัณฑ์ที่ไม่ครึกโครมก็ยังมีผู้คอยบันทึกภาพออกทำเป็นไปรษณียบัตร<ref>{{harvnb|Apel|Smith|2007|p=[https://books.google.com/books?id=txZ8PZRsk0YC&pg=PA1 1]}}.</ref><ref name=Wood2009pp1–3>{{harvnb|Wood|2009|p=[https://books.google.com/books?id=txZ8PZRsk0YC&pg=PA1 1–3]}}.</ref>