ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไรส์โอวอยส์ออฟโรดีเซีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
}}
 
"'''ไรส์โอว๊อยส์ออฟโรดีเซีย'''" ('''" Rise, O Voices of Rhodesia'''" or "'''Voices of Rhodesia'''") เสียงแห่งโรดีเซีย เป็น[[เพลงชาติ]]ของ [[โรดีเซีย]] และ [[ซิมบับเวโรดีเซีย]] (เปลี่ยนชื่อเป็น [[ซิมบับเว]] เมื่อ ค.ศ. 1980) มีสถานะ[[รายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์|รัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์]] ระหว่าง ค.ศ. 1974 และ ค.ศ. 1979. โดยยืมทำนองเพลง "[[ปีติศังสกานท์]]" ("Ode to Joy"), เป็นผลงานของ [[ลูทวิช ฟัน เบทโฮเฟิน]] อยู่ในบทเพลง[[ซิมโฟนีหมายเลข 9 (เบทโฮเฟิน)|ซิมโฟนีหมายเลข 9]], ปัจจุบันเพลงปีติศังสกานท์ ใช้เป็น [[เพลงประจำสหภาพยุโรป|เพลงประจำสหภาพ]] ของ [[สหภาพยุโรป]] เมื่อ ค.ศ. 1972 (แม้มีการเปลี่ยนชื่อเป็นเพลงชาติทวีปยุโรปก็ตาม). โดยมีความยาว[[[ห้องเสียง]]ถึง 16 บาร์ เรียบเรียงโดย [[ร้อยเอก]] เคน แมคโดนัล, ผู้ควบคุมวงดุริยางค์ [[กรมทหารปืนเล็กยาวโรดีเซีย]]. ทางรัฐบาลได้มีการประกวดเนื้อเพลงชาติ โดย มารี บลูม of [[Gweru|Gwelo]] ชนะการประกวดบทร้องของเพลงชาติ.
 
ความล้มเหลวใน[[คำประกาศอิสรภาพฝ่ายเดียวของโรดีเซีย|การประกาศอิสรภาพฝ่ายเดียว]] เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965, เมื่อโรดีเชียสถาปนาตนเองใหม่ภายใต้การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์เป็นรัฐ "ซิมบับเวโรดีเชีย" ซึ่งไม่ได้รับการรับรอง ก่อนจะย้อนมาเป็นสถานะอาณานิคมโดย[[ความตกลงแลงคัสเตอร์]]ในเดือนธันวาคม โดย [[สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2]] ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ "[[ก็อดเซฟเดอะควีน]]" จึงมีสถานะเป็นเพลงชาติ. ในช่วงเวลาดังกล่าว โรดีเซียมีสถานะเป็น[[สาธารณรัฐเครือจักรภพ|สาธารณรัฐ]] เมื่อ ค.ศ. 1965, ในช่วงที่มีความผันผวนทางการเมือง โดย ''ก็อดเซฟเดอะควีน'' ใช้เพลงคำนับสำหรับพิธีการที่เกี่ยวข้องกับ[[พระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร]] ในฐานะพระประมุขแห่งอาณานิคมและพระราชวงศ์อังกฤษ ส่วน ''ไรส์โอว๊อยส์ออฟโรดีเซีย'' ใช้เป็นเพลงชาติ ตั้งแต่ ค.ศ. 1974. ใช้สืบเนื่องจนถึง ธันวาคม ค.ศ. 1979, ก่อนที่สหราชอาณาจักรเข้าปกครอง ดินแดนอาณานิคมเพียงระยะเวลาสั้นๆ ก่อนกการประกาศเอกราชของซิมบับเวเพียง 5 เดือน.