ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับสัตว์ฟันแทะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
Kannajaja (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 147:
===สติปัญญา===
[[ไฟล์:Kangaroo-rat.jpg|thumb|right|หนูจิงโจ้สามารถค้นหาตำแหน่งของอาหารด้วยความจำเกี่ยวกับสถานที่]]
สัตว์ฟันแทะมีความฉลาดที่สูง สัตว์ฟันแทะมักจะไม่กินอาหารที่แปลกใหม่ (สะท้อนกับการปรับตัวของสัตว์ฟันแทะที่ไม่สามารถอาเจียนอาหาร) แต่จะชิม รอและสังเกตว่าอาหารที่กินทำให้ตัวสัตว์เองหรือสัตว์อื่นป่วยหรือไม่<ref name="HornsWang">{{cite journal| last1= Horns| first1= Charles C.| last2= Kimball| first2= Bruce A.| last3= Wang| first3= Hong| last4= Kaus| first4= James| last5= Dienel| first5= Samuel| last6= Nagy| first6= Allysa| last7= Gathright| first7= Gordon R.| last8= Yates| first8= Bill J.| last9=Andrews| first9= Paul L. R.| year=2013| title=Why can't rodents vomit? A comparative behavioral, anatomical, and physiological study| journal=PloS one|doi=10.1371/journal.pone.0060537| url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3622671/#}}</ref><ref name="RobbinsRobert">{{cite journal |last1=Robbins |first1=Robert J.|year=1980|title=Taste-Aversion Learning and its Implication for Rodent Control|url=http://digitalcommons.unl.edu/vpc9/33}}</ref> การที่สัตว์ฟันแทะสามารถเรียนรู้ที่จะหลีกเลี่ยงเหยื่ออาหารที่เป็นพิษทำให้เป็นสัตว์ก่อความวุ่นวายที่ยากต่อการกำจัด หนูตะเภาสามารถเรียนรู้และจำเส้นทางที่ซับซ้อนไปยังอาหาร<ref name="Allen">{{cite journal | last=Charters | first=Jessie Blount Allen | title=The associative processes of the guinea pig: A study of the psychical development of an animal with a nervous system well medullated at birth | journal=Journal of Comparative Neurology and Psychology | volume=XIV | issue=4 | pages=300–337 | publisher=University of Chicago Press| year=1904 | url=https://books.google.com/?id=dWcKAAAAMAAJ&pg=RA2-PA300&lpg=RA2-PA300&dq=guinea+pigs#PRA1-PA299,M2}}</ref> กระรอกและหนูจิงโจ้สามารถค้นหาตำแหน่งของอาหารได้ด้วยความจำเกี่ยวกับสถานที่นอกเหนือจากการดมกลิ่น<ref>{{cite journal|author1=Jacobs, Lucia F. |author2=Liman, Emily R. |year=1991|title=Grey squirrels remember the locations of buried nuts|journal=Animal Behaviour|volume=41|pages=103–110|url=http://ecotheo.org/wp-content/uploads/2014/01/Jacobs_AB91.pdf|doi=10.1016/s0003-3472(05)80506-8}}</ref><ref>{{cite journal|author=Jacobs, Lucia F. |year=1992 |title=Memory for cache locations in Merriam's kangaroo rats |journal=Animal Behaviour |volume=43 |issue=4 |pages=585–593 |doi=10.1016/S0003-3472(05)81018-8 |url=http://jacobs.berkeley.edu/test/publications/Jacobs_AB92(1).PDF |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20140826120701/http://jacobs.berkeley.edu/test/publications/Jacobs_AB92%281%29.PDF |archivedate=26 August 2014 |df= }}</ref>
 
ความรู้เกี่ยวกับความฉลาดของสัตว์ฟันแทะมีความก้าวหน้ามากขึ้นเนื่องจากการนำหนูหริ่งบ้านและหนูบ้านมาเป็นสัตว์ทดลอง หนูบ้านมี[[ความเอนเอียงทางประชาน|อคติทางการตัดสินใจ]] โดยการประมวลผลข้อมูลจะเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับสภาวะทางจิตใจ<ref name="Harding">{{cite journal|author1=Harding, E. J. |author2=Paul, E. S. |author3=Mendl, M. |title=Animal behaviour: Cognitive bias and affective state |journal=Nature |volume=427 |pages=312 |year=2004| doi=10.1038/427312a |pmid=14737158 |issue=6972|bibcode=2004Natur.427..312H }}</ref> ตัวอย่างเช่นเมื่อหนูทดลองถูกฝึกให้ตอบสนองต่อโทนเสียงเฉพาะโดยการกดคันโยกเพื่อรับรางวัลและกดคันโยกอื่นเมื่อได้ยินอีกโทนเสียงเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกไฟฟ้าช็อต หนูทดลองตัวนั้นจะต่อสอบสนองต่อเสียงที่อยู่ระหว่างโทนเสียงทั้งสองโดยการกดคันโยกที่ได้รับรางวัลมากกว่าเมื่อหนูตัวนั้นได้ถูกจักจี้ (สิ่งที่หนูชอบ) การทดลองนี้ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะจิตใจที่ดีและการตัดสินใจเมื่อพบเจอสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนของสัตว์ทดลอง<ref name="Rygula">{{cite journal |first1=Rafal |last1=Rygula |first2=Helena |last2=Pluta |last3=Popik |first3=Piotr |title=Laughing rats are optimistic |journal=PLOS ONE |year=2012 |volume=7 |issue=12 |pmc=3530570 |doi=10.1371/journal.pone.0051959 |pmid=23300582 |pages=e51959|bibcode=2012PLoSO...751959R }}</ref>
บรรทัด 516:
 
[[ไฟล์:Rodent Bait Station, Chennai, India.jpg|thumb|บ้านกับดับสัตว์ฟันแทะที่เมืองเจนไน ประเทศอินเดีย]]
เนื่องจากสัตว์ฟันแทะบางชนิดเป็นสัตว์ที่ก่อความวุ่นวายและอันตรายกับ[[สาธารณสุข]] มนุษย์จึงพยายามที่จับควบคุมประชากรสัตว์เหล่านี้ วิธีการวางยาหรือวางกับดับมักจะไม่ปลอดภัยและไม่มีประสิทธิภาพ [[การจัดการสัตว์ก่อความวุ่นวาย]] (Integrated pest management) พยายามที่จะปรับปรุงวิธีการรับมือโดยทำการสำรวจหลายครั้งเพื่อกำหนดขนาดประชากรและขอบเขตการแพร่กระจาย การตั้งขอบเขตการควบคุมการกระทำของสัตว์ฟันแทะ การรบกวน และการประเมิณผลของประสิทธิภาพ มาตการการรบกวนอาจจะรวมถึงให้การศึกษา ตั้งกฎหมาย และปรับเปลี่ยนที่อยู่อาศัย วิธีการเกษตร [[ตัวควบคุมสัตว์ก่อความรังควานทางชีวภาพ]]โดยใช้เชื้อโรคหรือสัตว์ผู้ล่า รวมถึงการวางยาและวางกับดัก<ref>{{cite book | author=Centers for Disease Control and Prevention | title=Integrated pest management: conducting urban rodent surveys | publisher=US Department of Health and Human Services | year=2006 | location=Atlanta | url=https://www.cdc.gov/nceh/ehs/docs/ipm_manual.pdf}}</ref> เนื่องจากสัตว์ฟันแทะมีพฤติกรรมการเข็ดขยาดต่อสารพิษ (poison shyness) หรือการที่สัตว์ไม่กินอาหารบางประเภทหลังจากที่เรียนรู้ว่าอาหารนั้นถูกวางพิษ ทำให้เกิดความยากต่อการกำจัดสัตว์ก่อความรังควาน<ref name=RobbinsRobert/> แต่ทว่า[[ยาเบื่อหนู]]ประเภทที่มีฤทธิ์ช้า เช่น[[ยาต้านการแข็งตัวของเลือด]] (anticoagulant) (ซึ่งทำให้[[หลอดเลือดฝอย|เส้นเลือดฝอย]]ของสัตว์ฟันแทะเกิดความเสียหายได้และนำไปสู่การตกเลือดภายใน) สามารถนำมาใช้รับมือพฤติกรรมการเข็ดขยาดต่อสารพิษของสัตว์ฟันแทะได้ การใช้เชื้อโรคเช่น ''[[Salmonella]]'' เพื่อควบคุมประชากรสัตว์ฟันแทะมีผลเสียกลับมาเนื่องจากเชื้อติดต่อสามารถแพร่กระจายไปยังมนุษย์และสัตว์เลี้ยงได้ นอกจากนี้แล้วสัตว์ก่อความรังควานมักพัฒนาภูมิคุ้มกัน การใช้สัตว์ผู้ล่าเช่น [[เฟร์ริต]] [[พังพอน]] และ[[กิ้งก่ามอนิเตอร์]] เพื่อควบคุมประชากรมีผลออกมาไม่น่าพอใจ การใช้[[แมว]]เลี้ยงสามารถควบคุมสัตว์ฟันแทะได้อย่างมีประสิทธิภาพถ้าประชากรไม่มีขนาดใหญ่เกินไป<ref>{{cite journal | author=Wodzicki, K. | title=Prospects for biological control of rodent populations | journal=Bulletin of the World Health Organization | year=1973 | volume=48 | issue=4 | pages=461–467 | pmc=2481104 | pmid=4587482}}</ref> ในสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ สัตว์ฟันแทะสองชนิดได้แก่ [[หนูหริ่งบ้าน]]และ[[หนูบ้าน]] ถูกควบคุมประชากรอย่างมีประสิทธิภาพและถูกกฎหมายเพื่อลดความเสียหายทางเกษตรกรรม การแพร่เชื้อบนผลผลิตทางเกษตร และความเสียหาต่อเครื่องมือ<ref>{{cite web | url=https://www.aictradeassurance.org.uk/latest-documents/g56-rodent-control-in-agriculture-an-hgca-guide/ | title=Rodent control in agriculture – an HGCA guide | publisher=Agriculture and Horticulture Development Board | date=2012 | accessdate=24 February 2018}}</ref>
นอกเหนือจากนี้แล้ว การควบคุมประชากร