ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยาเบื่อหนู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kannajaja (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kannajaja (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนที่มีความน่าเชื่อถือมากกว่า
บรรทัด 2:
'''ยาเบื่อหนู''' ({{lang-en|Rodenticide}}) เป็นสารเคมีที่ใช้ในการควบคุม[[สัตว์รบกวน]] ซึ่งถูกผลิตและจัดจำหน่ายโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อฆ่า[[สัตว์ฟันแทะ]]
 
ยาเบื่อหนูบางชนิดฆ่าสัตว์ฟันแทะทันทีเมื่อสัมผัส ในขณะที่สารบางชนิดอื่นต้องถูกสัมผัสมากกว่าหนึ่งครั้งถึงจะแสดงผล สัตว์ฟันแทะมักจะไม่กินอาหารที่แปลกใหม่ (สะท้อนกับการปรับตัวของสัตว์ฟันแทะที่ไม่สามารถ[[อาเจียน]]อาหาร) แต่จะชิม รอและสังเกตว่าอาหารที่กินทำให้ตัวสัตว์เองหรือสัตว์อื่นป่วยหรือไม่<ref>{{cite webjournal|title last1=Smithsonian: WhyHorns| rodentsfirst1= Charles C.| last2= Kimball| first2= Bruce A.| last3= Wang| first3= Hong| last4= Kaus| first4= James| last5= Dienel| first5= Samuel| last6= Nagy| first6= Allysa| last7= Gathright| first7= Gordon R.| last8= Yates| first8= Bill J.| last9=Andrews| first9= Paul L. R.| year=2013| title=Why can't throwrodents upvomit? A comparative behavioral, anatomical, and physiological study| journal=PloS one|doi=10.1371/journal.pone.0060537| url=httphttps://www.smithsonianmagncbi.comnlm.nih.gov/smart-newspmc/why-rodents-cant-throw-up-in-case-you-were-wondering-25707720articles/?no-ist|accessdate=4 April 2015PMC3622671/#}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.ratbehavior.org/FoodChoices.htm|title=How do rats choose what to eat?}}</ref> โดย[[พฤติกรรมการเข็ดขยาดต่อสารพิษ]] (poison shyness) ของสัตว์จะถูกรับมือด้วยสารพิษที่มีผลกับสัตว์เมื่อสัมผัสหลายครั้ง
 
นอกจากยาเบื่อหนูยังเป็นสารที่ก่อพิษโดยตรงกับ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]เช่น สุนัข แมว และมนุษย์ สารเคมีกำจัดหนูยังสามารถก่อพิษทางอ้อมให้แก่สัตว์ที่ล่าหรือกินซากสัตว์ฟันแทะที่ตายจากสารเคมีกำจัดหนู