ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุลัยมานผู้เกรียงไกร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎อนุสรณ์: เคาะวรรค
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 100:
[[ไฟล์:Suleiman bas-relief in the U.S. House of Representatives chamber.jpg|thumb|right|280px|รูปนูนต่ำของสุลต่านสุลัยมานภายในที่ทำการของ[[สภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรูปผู้มีความสำคัญในด้านการกฎหมายยี่สิบสามรูป]]
{{ระบบการบริหารรัฐของออตโตมัน|width=290px}}
ในขณะที่สุลต่านสุลัยมานทรงเป็นที่รู้จักกันในตะวันตกในพระนามว่า "the Magnificent”Magnificent" พระองค์ก็ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนามว่า "Kanuni Suleiman”Suleiman" หรือ "ผู้พระราชทานกฎหมาย”กฎหมาย" โดยไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินของจักรวรรดิออตโตมันของพระองค์เอง นักประวัติศาสตร์ชาวสกอต[[จอห์น บาลโฟร์ บารอนคินรอสส์ที่ 3|ลอร์ดคินรอสส์]]ตั้งข้อสังเกตว่าพระองค์มีพระปรีชาสามารถทางด้านการทหารเช่นเดียวกับพระราชบิดาและพระอัยกา แต่ทรงมีความแตกต่างกันจากทั้งสองพระองค์ตรงที่ไม่แต่จะทรงดาบเท่านั้นแต่ยังทรงปากกาด้วย นอกจากนั้นพระองค์ก็ยังทรงเป็นนักกฎหมายผู้มีความสามารถเป็นอันมาก<ref>Kinross, 205</ref>
 
กฎหมายสูงสุดของจักรวรรดิออตโตมันคือ[[ชะรีอะฮ์]] (Shari'ah) หรือ “กฎหมายศักดิ์สิทธิ์” ซึ่งเป็นกฎหมายของ[[ศาสนาอิสลาม]]ที่อยู่นอกพระราชอำนาจในการเปลี่ยนแปลง แต่ในด้านกฎหมายที่รู้จักกันว่า “กฎหมายคานุน” (Kanun) เป็นกฎบัตรที่ไม่อยู่ในข่ายของกฎหมายชะรีอะฮ์ แต่ขึ้นอยู่กับพระราชประสงค์ของสุลต่านสุลัยมานเท่านั้น คานุนครอบคลุมทั้งกฎหมายอาญา, กฎหมายที่ดิน และกฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร<ref>Imber, 244</ref> พระองค์ทรงเริ่มการปฏิรูป “กฎหมายคานุน” โดยการรวบรวมคำพิพากษาจากสุลต่านออตโตมันเก้าพระองค์ก่อนหน้านั้นเข้าด้วยกัน หลังจากที่ทรงเริ่มด้วยการกำจัดบทบัญญัติที่ซ้ำซ้อน และสะสางบทบัญญัติที่ขัดแย้งกันแล้ว พระองค์ก็ทรงออกเป็นประมวลกฎหมายฉบับเดียว โดยไม่ขัดแย้งกับหลักการพื้นฐานของกฎบัตรของศาสนาอิสลามแต่อย่างใด<ref>Greenblatt, 20.</ref> ประมวญกฎหมายคานุนที่ออกมาเป็นทางการเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “Kanun‐i Osmani” หรือ “กฎหมายออสมัน” ประมวลกฎหมายฉบับที่ทรงบัญญัติได้รับการใช้ปฏิบัติต่อมาอีกกว่าสามร้อยปีหลังจากนั้น<ref>Greenblatt, 21.</ref>