ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คันไซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เคียวโตะ" → "เกียวโต" +แทนที่ "โอซะกะ" → "โอซากะ" +แทนที่ "นะระ" → "นาระ" +แทนที่ "วะกะยะมะ" → "วากายามะ" +แทนที่ "โยะโกะฮะมะ" → "โยโกฮามะ" +แทนที่ "เซะโตะ" → "เซโตะ" +แทนที่ "ฮิเมะจิ" → "ฮิเมจิ" +แทนที่ "เอะโดะ" → "เอโดะ" +แทนที่ "โทะกุงะวะ" → "โทกูงาวะ" +แทนที่ "ทะโกะยะกิ" → "ทาโกยากะิ" +แทนที่ "ยากะิ" → "ยากิ" +แทนที่ "โอะโคะโนะมิยะกิ" → "โอโคโนมิยากิ" +แทนที่ "อุดง" → "อูดง" +แทนที่ "คะบุกิ" → "คาบูกิ" ด้วยสจห.
บรรทัด 44:
}}
 
'''คันไซ''' ({{ญี่ปุ่น|関西|Kansai}}) หรือเรียก '''คิงกิ''' (近畿) เป็นเขตแดนทางภูมิศาสตร์ของ[[ประเทศญี่ปุ่น]]บน[[เกาะฮนชู]] โดยเขตคันไซประกอบไปด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ [[จังหวัดเฮียวโงะ|เฮียวโงะ]] [[จังหวัดเคียวโตะเกียวโต|เคียวโตะเกียวโต]] [[จังหวัดโอซะซากะ|โอซะซากะ]] [[จังหวัดชิงะ|ชิงะ]] [[จังหวัดนะนาระ|นะนาระ]] [[จังหวัดวะกะยะมะวากายามะ|วะกะยะมะวากายามะ]] และ[[จังหวัดมิเอะ|มิเอะ]] คันไซมีขนาดประมาณ 27,335.11 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 22,757,897 คน ([[พ.ศ. 2553]]) อัตราความหนาแน่น 755.39 คน/ตารางกิโลเมตร
 
ภูมิภาคคินคิ หรือที่คนส่วนใหญ่จะเรียกกันในนามของภูมิภาคคันไซ หรือภาคกลางตอนใต้ของญี่ปุ่น ภูมิภาคคันไซแห่งนี้เป็นอีกภูมิภาคที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น นอกเหนือจากภูมิภาค[[คันโต]]ซึ่งเป็นที่ตั้งของกรุง[[โตเกียว]]เมืองหลวง ภูมิภาคคันไซนับเป็นภูมิภาคที่ความเจริญมาช้านานเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของญี่ปุ่นในยุคแรก ๆ ประวัติศาสตร์คือ เมือง[[นะนาระ]]และเมือง[[เคียวโตะเกียวโต]] เมืองหลวงทั้งสองแห่งนี้เป็นศูนย์กลางการบริหารประเทศญี่ปุ่นมานับพันปี มีพระราชวังที่ประทับองค์จักรพรรดิหรือพระราชวังอิมพีเรียล ณ เมือง[[เคียวโตะเกียวโต]] ก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่กรุง[[โตเกียว]] นอกจากจะเป็นศูนย์กลางประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นแล้ว ภูมิภาคแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของเมืองอุตสาหกรรมหลายแห่ง ได้แก่ นคร[[โอซะซากะ]] ศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมสำคัญของประเทศเป็นเมืองใหญ่อันดับสามรองจากกรุง[[โตเกียว]]และ[[โยะโกะฮะโยโกฮามะ]] เมือง[[เคียวโตะเกียวโต]]และนารา เมืองหลวงเก่าที่ยังคงอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุที่สำคัญและงดงามเป็นเมืองแห่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รวมถึงเมือง[[โคเบะ]]ซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น
 
== ภาพรวม ==
 
ภูมิภาคคันไซ เป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น มีขนาดคิดเป็นร้อยละ 11 ของพื้นที่ประเทศญี่ปุ่น มีประชากรอาศัอยู่ 22,757,897 คนจากการสำรวจในปี พ.ศ. 2553 บริเวณที่ราบคิงกิเป็นที่ตั้งของนคร[[โอซะซากะ]]และ[[เคียวโตะเกียวโต]]และเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคนี้
 
ภูมิภาคคันไซมีอาณาเขตตั้งแต่ทะเลเซะโตะเซโตะไปจนถึงฮิเมะจิเมจิ และทางตะวันออกจรดกับ[[ทะเลสาบบิวะ]] อันเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น ด้านทิศเหนือจรดกับทะเลญี่ปุ่น และด้านทิศใต้ติดกับ[[คาบสมุทรคิอิและคิอิ]]และ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ภูมิภาคคันไซพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติอยูถึงอยู่ถึง 4 แห่งด้วยกัน และในภูมิภาคนี้มีอยู่ 6 จังหวัดที่ติดอันดับว่ามีทรัพยากรธรรมชาติมากที่สุดในประเทศญี่ปุ่น 7 อันดับ<ref name="kansai_now2">[http://www.kippo.or.jp/aboutkansai/eng/history_e02.html Kansai Now: History], retrieved January 17, 2007</ref>
 
ภูมิภาคคันไซมักจะถูกนำไปเปรียบเทียบกับ ภูมิภาค[[คันโต]] อยู่บ่อยๆ โดยคันโตเป็นเขตแดนที่อยู่ทางตะวันออก ประกอบไปด้วย[[โตเกียว]]และเมืองรอบๆรอบ ๆ ในขณะที่คันโตถูกจัดว่าเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นมาตรฐานทั่วญี่ปุ่น คันไซก็ถูกมองว่าเป็นภูมิภาคที่มีลักษณะเฉพาะ โดยเฉพาะความเป็นเมืองวัฒนธรรมอย่าง[[เคียวโตะเกียวโต]] ความเป็นเมืองพ่อค้าอย่าง[[โอซะซากะ]] เมืองทางประวัติศาสตร์อย่าง[[นะนาระ]] และเมืองทันสมัยอย่าง[[โคเบะ]] รากเหง้าความแตกต่างนี้มีมาตั้งแต่สมัย[[ยุคเอะโดะเอโดะ]] โดยที่โอซะซากะ เมืองพ่อค้า มีซามูไรประจำอยู่แค่ 1 เปอร์เซนต์ ต่างกับที่เมือง[[เอะโดะเอโดะ]] ขุมกำลังของตระกูลโชกุนโทะกุงะวะโทกูงาวะ ที่มีกำลังพลของซามูไรอยู่มากมาย<ref name="omusubi">[http://www.jpf.org.au/06_newsletter/hitokuchi_3new.pdf Omusubi] - "Japan's Regional Diversity", retrieved January 22, 2007</ref>
 
คุณลักษณะของชาวคันไซได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมความเป็นเมืองการค้าของโอซะซากะ นักวิชาการมองว่า "ชาวคันไซเป็นนักปฏิบัติ พ่อค้า ติดดิน และมีอารมณ์ขัน ส่วนชาวคันโตจะเป็นผู้ช่ำชองโลก อนุรักษนิยม มีระเบียบแบบแผน ธำรงไว้ซึ่งประวัติศาสตร์และความเจริญก้าวหน้าของโตเกียว เมืองหลวงของแผ่นดินและมหานครที่ใหญ่ที่สุด" <ref name="omusubi"/><ref name="prime_living">[http://www.livingabroadin.com/Japan/japan_primeliving.html Livingabroadin.com] - "Prime Living Locations in Japan", retrieved January 22, 2007</ref>
 
คันไซขึ้นชื่อในเรื่องของอาหาร โดยเฉพาะที่ [[โอซะซากะ]] จึงมีคำกล่าวที่ว่า "เคียวโตะเกียวโตซื้อเสื้อผ้าจนหมดตัว โอซะซากะกินจนหมดตัว" (京の着倒れ、大阪の食い倒れ) อาหารที่มีชื่อเสียงของโอซะซากะก็เช่น [[ทะโกะยะทาโกยากิ]] [[โอะโคะโนะมิยะกิโอโคโนมิยากิ]] [[อุอูดง|คิตสึเนะอุดงคิตสึเนะอูดง]] และ[[คุคูชิคัตสึ]] ส่วน[[เคียวโตะเกียวโต]]ก็มีชื่อเสียงด้านวัฒนธรรมดั้งเดิมของญี่ปุ่น นอกจากนี้ คันไซยังขึ้นชื่อในเรื่องของ เนื้อญี่ปุ่น เช่น เนื้อโคเบะ [[เนื้อมัตสึซะกะมัตสึซากะ]] และเนื้อโอมิ อาหารของคันไซจะค่อนข้างหวานกว่าทางตะวันออก และไม่ค่อยนิยมบริโภค[[นัตโต]]
 
คันไซมีสำเนียงเป็นของตัวเองที่เรียกว่า คันไซเบง หรือ สำเนียงคันไซ (関西弁) มีความแตกต่างจากภาษาหลักทั้งการออกเสียง คำศัพท์ และไวยกรณ์ไวยากรณ์ เป็นสำเนียงที่พูดกันเฉพาะในพื้นที่คันไซเท่านั้น
 
ภูมิภาคคันไซ มีทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงมากมาย เช่น ทีมเบสบอลอย่าง [[ฮันชิน ไทเกอร์ส]] ที่ใช้สนาม[[โคชิเอ็ง]]เป็นสนามเหย้า ทีมเบสบอล[[โอริกซ์ บัฟฟาโล]] สโมสรฟุตบอลใน[[เจลีก]]อย่าง [[กัมบะ โอซะซากะ]] [[เซเรซโซ โอซะซากะ]] [[วิสเซล โคเบะ]] และ[[เคียวโตะเกียวโต ซังงะ]]
 
== คลังภาพ ==
บรรทัด 71:
ไฟล์:NaraTodaiji.jpg|โถงหลัก วัด[[โทไดจิ]] สิ่งก่อสร้างไม้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
ไฟล์:Biwa Lake.jpg|[[ทะเลสาบบิวะ]] ทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น และเก่าแก่ที่สุดอันดับ 3 ของโลก
ไฟล์:Okuni with cross dressed as a samurai.jpg|อิซุโมะอิซูโมะ โนโนะ โอะคุนิโอกูนิ ผู้คิดค้นละคร[[คะบุกิคาบูกิ]]ใน[[เคียวโตะเกียวโต]]
ไฟล์:Kongo Gumi workers in early 20th century.jpg|คงโก กุโงงูมิ เคยเป็นบริษัทที่ดำเนินงานยาวนานที่สุดในโลก สร้างมรกดทางวัฒนธรรมให้กับญี่ปุ่นมากมาย
ไฟล์:Amanohashidate view from Mt Moju02s3s4592.jpg|อะมะโนะฮะอามาโนฮาชิดะดาเตะ หนึ่งในสามทิวทัศน์ที่สวยงามของญี่ปุ่น
ไฟล์:Sen_no_Rikyu_JPN.jpg|เซนโนะรีคีวโนะรีกีว พ่อค้าจากซะไกซาไก ผู้รักษาธรรมเนียมพิธีชงชาที่ดีที่สุดของญี่ปุ่น
ไฟล์:Toji-temple-kyoto.jpg|วัดโทจิ วัดที่สูงที่สุดในญี่ปุ่น ตั้งอยู่ที่[[เคียวโตะเกียวโต]]
ไฟล์:Nintendo_office.jpg|[[นินเทนโด]] บริษัทเกมที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของโลก
ไฟล์:Osaka Castle Nishinomaru Garden April 2005.JPG|[[ปราสาทโอซะซากะ]]
</gallery>
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/คันไซ"