ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศพม่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ศาสนา
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนไปยังรุ่นเดิม
บรรทัด 105:
อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐ[[ปยู]]ที่พูดภาษา[[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า|ตระกูลทิเบต-พม่า]]ในพม่าตอนบน และ[[อาณาจักรมอญ|ราชอาณาจักรมอญ]]ในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 [[ชาวพม่า]]ได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่ม[[แม่น้ำอิรวดี]]ตอนบน และสถาปนา[[อาณาจักรพุกาม|ราชอาณาจักรพุกาม]]ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 [[ราชวงศ์ตองอู]]สร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้<ref>[[#Lieberman|Lieberman]], p. 152</ref> ต้นศตวรรษที่ 19 [[ราชวงศ์โกนบอง]]ได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุม[[รัฐมณีปุระ|มณีปุระ]]และ[[รัฐอัสสัม|อัสสัม]]ในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลัง[[สงครามอังกฤษ-พม่า]]ทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็น[[พม่าภายใต้การปกครองของบริเตน|อาณานิคมบริติช]] ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน ค.ศ. 1948 ช่วงต้นปกครองแบบชาติประชาธิปไตย และหลัง[[รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2505|รัฐประหารใน ค.ศ. 1962]] เป็นการปกครองแบบเผด็จการทหาร แม้เผด็จการทหารสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 2011 แต่ผู้นำพรรคการเมืองส่วนใหญ่ยังเป็นอดีตนายทหาร
 
ประเทศพม่าอยู่ภายใต้การต่อสู้ชาติพันธุ์ที่รุนแรง กลุ่มชาติพันธุ์มากมายของพม่าเกี่ยวข้องกับสงครามกลางเมืองที่ดำเนินอยู่ยาวที่สุดสงครามหนึ่งของโลก ระหว่างช่วงนี้ [[สหประชาชาติ]]และอีกหลายองค์การรายงานการละเมิด[[สิทธิมนุษยชน]]อย่างต่อเนื่องภายในประเทศ<ref>{{cite web|url=http://www.hrw.org/burma |title=Burma |publisher=Human Rights Watch |accessdate=6 July 2013}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.amnestyusa.org/our-work/countries/asia-and-the-pacific/myanmar |title=Myanmar Human Rights |publisher=Amnesty International USA |accessdate=6 July 2013}}</ref><ref name="autogenerated2">{{cite web|url=http://www.hrw.org/world-report-2012/world-report-2012-burma |title=World Report 2012: Burma |publisher=Human Rights Watch |accessdate=6 July 2013 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/20130630121229/http://www.hrw.org:80/world-report-2012/world-report-2012-burma |archivedate=30 June 2013 }}</ref> ใน ค.ศ. 2011 มีการยุบ[[สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ|คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครอง]]อย่างเป็นทางการหลัง[[การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศพม่า พ.ศ. 2553|การเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 2010]] และมีการตั้งรัฐบาลในนามพลเรือน แต่อดีตผู้นำทหารยังมีอำนาจภายในประเทศ กองทัพพม่าดำเนินการสละการควบคุมรัฐบาล ร่วมถึงการปล่อยตัว[[ออง ซาน ซูจี]]และนักโทษทางการเมือง มีการปรับปรุงสิทธิมนุษยชนและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จนนำไปสู่การผ่อนปรนการลงโทษทางการค้าและเศรษฐกิจอื่นๆ<ref>{{cite news |author=Madhani, Aamer |title=Obama administration eases Burma sanctions before visit |url=http://www.usatoday.com/story/theoval/2012/11/16/obama-lifts-sanctions-burma-visit/1710253/ |newspaper=USA Today |date=16 November 2012}}</ref><ref>{{cite news |author1=Fuller, Thomas |author2=Geitner, Paul |title=European Union Suspends Most Myanmar Sanctions |url=http://www.nytimes.com/2012/04/24/world/asia/eu-suspends-sanctions-on-myanmar.html |newspaper=The New York Times |date=23 April 2012}}</ref> ทว่ายังมีการวิจารณ์การปฏิบัติต่อชนกลุ่มน้อย[[โรฮีนจา]]ของรัฐบาลที่สร้างขบวนการกลุ่มพระสงฆ์หัวรุนแรงฆ่าล้างเผ่าพันธ์ชนกลุ่มน้อยและการสนองต่อการปะทะกันทางศาสนา<ref>{{cite web|author=Greenwood, Faine |url=http://www.undispatch.com/the-8-stages-of-genocide-against-burmas-rohingya |title=The 8 Stages of Genocide Against Burma's Rohingya &#124; UN DispatchUN Dispatch |publisher=Undispatch.com |date=27 May 2013 |accessdate=13 April 2014}}</ref><ref>{{cite news | url=http://www.reuters.com/article/2012/06/11/us-myanmar-violence-idUSBRE85A01C20120611 | title=EU welcomes "measured" Myanmar response to rioting | publisher=Retuer | date=11 June 2012}}</ref><ref>{{cite news | url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18395788 | title=Q&A: Communal violence in Burma | publisher=BBC | accessdate=14 October 2013}}</ref>
 
ประเทศพม่าอุดมด้วย[[หยก]] [[อัญมณี]] น้ำมัน แก๊สธรรมชาติและทรัพยากรแร่อื่นๆ ใน ค.ศ. 2013 จีดีพี (ราคาตลาด) อยู่ที่ 56,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และจีดีพี (อำนาจซื้อ) อยู่ที่ 221,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref name=imf2 /> ช่องว่างรายได้ของประเทศพม่ากว้างที่สุดประเทศหนึ่งในโลก เพราะเศรษฐกิจสัดส่วนใหญ่ถูกผู้สนับสนุนอดีตรัฐบาลทหารควบคุม<ref>{{cite news | url=http://www.nationmultimedia.com/aec/Income-gap-worlds-widest-30214106.html | title=Income Gap 'world's widest' | work=The Nation | accessdate=15 September 2014 | author=Eleven Media | date=4 September 2013}}</ref><ref>{{cite news | url=https://www.dvb.no/analysis/income-inequality-in-burma/33726 | title=Income inequality in Burma | publisher=Democratic Voice of Burma | accessdate=15 September 2014 | author=McCornac, Dennis | date=22 October 2013}}</ref> ใน ค.ศ. 2014 จาก[[ดัชนีการพัฒนามนุษย์]] (HDI) ประเทศพม่ามีระดับการพัฒนามนุษย์ต่ำ โดยจัดอยู่อันดับที่ 148 จาก 188 ประเทศ<ref name="HDI">{{cite web |url=http://hdr.undp.org/sites/default/files/hdr_2015_statistical_annex.pdf |title=2015 Human Development Report Summary |year=2015 |access-date=9 November 2016 |publisher=United Nations Development Programme | page=210}}</ref>
บรรทัด 349:
{{bar percent|ไม่นับถือศาสนา|black|0.1}}
}}
ในปี ค.ศ. 2014<ref>[https://en.wikipedia.org/wiki/Myanmar#Religion] Religion in Myanmar</ref> ประเทศพม่ามีประชากรที่นับถือศาสนา แบ่งได้ดังนี้ [[ศาสนาพุทธ]] 87.9% [[ศาสนาคริสต์]] 6.2% [[ศาสนาอิสลาม]] 4.3% [[ศาสนาฮินดู]] 0.5% [[ศาสนาพื้นบ้านพม่า]] 0.8% อื่น ๆ 0.2% และไม่นับถือศาสนา 0.1%
 
ก่อนขบวนการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ชนกลุ่มน้อยโรฮีนจาจะเกิดขึ้น ประเทศพม่ามีประชากรนับถือศาสนาอิสลามเป็นจำนวนมาก ถือว่าประเทศพม่าเป็นประเทศที่ลิดรอนสิทธิมนุษยชนอันดับต้นๆของโลก และสหประชาชาติได้ประกาศให้วิระทู ภิกขุเป็นพระก่อการร้ายระดับโลก
 
=== ภาษา ===