ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องบินขับไล่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
 
นักบินของสัมพันธมิตรและเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งไม่ได้สวม[[ร่มชูชีพ]] ดังนั้นส่วนใหญ่แล้วพวกเขาจึงไม่รอดชีวิตเมื่อเครื่องบินได้รับความเสียหายอย่างหนัก ร่มชูชีพถูกสร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2461 และถูกใช้โดยเยอรมนีในช่วงปีนั้น แต่ทางสัมพันธมิตรก็ยังคงไม่ใช่ร่มชูชีพด้วยเหตุผลหลายประการ<ref>ลี, อาเธอร์ กูลด์, ''ไร้ร่มชูชีพ'' ลอนดอน: แจร์โรลด์ส, พ.ศ. 2511 ไอเอสบีเอ็น 0090865901</ref>
[[ไฟล์:Sopwith_Camel_at_the_Imperial_War_Museum.jpg|thumb|right|เครื่องบินปีกสองชั้นแบบโซปวิธคาเมล 2เอฟ1 ที่พิพิธภัณฑ์สงครามจักรวรรดิในกรุงลอนดอน]]
 
=== ช่วงระหว่างสงครามโลกทั้งสองครั้ง (ปีพ.ศ. 2462-2481) ===
เส้น 52 ⟶ 51:
เครื่องยนต์โรเตอรี่ที่เคยเป็นที่นิยมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้หายไปอย่างรวดเร็วและถูกแทนที่โดยเครื่องยนต์แบบใหม่ เครื่องยนต์ของเครื่องบินได้เพิ่มพลังมากกว่ายุคก่อนๆ ความขัดแย้งระหว่างเครื่องยนต์ทั้ง 2 แบบยังคงมีด้วยการที่ทางกองทัพเรือต้องการเครื่องยนต์แบบใหม่ แต่กำลังทางบกต้องการเครื่องยนต์แบบเก่า แบบใหม่นั้นไม่ต้องมีระบบทำความเย็นที่แยกต่างหาก แต่มันก็สร้างแรงฉุด เครื่องยนต์แบบเก่าให้อัตราแรงผลักต่อน้ำหนักได้ดีกว่าแต่มันไม่ทนทาน
 
[[ไฟล์:peashooter.arp.750pix.jpg|thumb|[[โบอิง พี-26 พีชู๊ตเตอร์]]]]
[[ไฟล์:Bf 110 end.jpg|thumb|right|เครื่องบินขับไล่ขนาดหนัก[[เมสเซอร์สมิต บีเอฟ 110]]]]
บางกองทัพอากาศได้ทำการทดลองเกี่ยวกับเครื่องบินขับไล่ขนาดหนัก (ถูกเรียกว่า"เครื่องบินพิฆาต"โดยเยอรมนี) เครื่องบินเหล่านี้จะมีขนาดใหญ่ มักมีเครื่องยนต์สองเครื่อง บ้างก็ใช้เพื่อทำหน้าที่เครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดเบาหรือกลาง การออกแบบดังกล่าวปกติแล้วจะช่วยเพิ่มความจุของเชื้อเพลิงภายใน (เป็นการเพิ่มระยะทำการ) และติดอาวุธขนาดหนัก จากการต่อสู้พบว่าพวกมันอุ้ยอ้ายและเป็นเป้าของเครื่องบินขับไล่ที่มีขนาดเล็กกว่า