ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิเต๋า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 5:
* Julia Ching, R. W. L. Guisso. 1991. p.75,119. Sages and Filial Sons. https://books.google.com/books?id=ynfrlFZcUG8C&pg=PA75</ref> ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่าง[[ลัทธิขงจื๊อ]]<ref name="Pollard; Rosenberg; Tignor 2011 164"/> แม้แต่ละนิกายมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ "[[อู๋เหวย์]]" ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย
 
ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช<ref>Robinet 1997, p. xix</ref> โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์[[อี้จิง]] ต่อมาใช้[[เต้าเต๋อจิง]]ของ[[เล่าจื๊อ]]และคัมภีร์[[จวงจื๊อ]]เป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัย[[ราชวงศ์ฮั่น]] ลัทธิเต๋าใน[[จ๊กก๊ก]]เริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ<ref>''Nadeau (2012)'', p. 42</ref> จนถึงปัจจุบันศาสนาเต๋าแบ่งเป็น 2 นิกายหลักคือ [[สำนักฉวนเจิน]]และ[[สำนักเจิ้งอี]] หลังสมัยของเล่าจื๊อและจวงจื๊อ มีการจัดสารบบวรรณกรรมศาสนาเต๋าต่างๆ รวบรวมทุกศาสตร์ทุกแขนงทุกๆด้านที่เกี่ยวกับเต๋าทั่วแผ่นดินจีนทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน และมีการชำระคำภีร์จัดหมวดหมู่ใหม่จนได้เป็นคัมภีร์[[เต้าจั้งคำภีร์เต้าจ้าง|คัมภีร์เต้าจ้าง]]<ref>https://zh.m.wikipedia.org/zh-hans/%E9%81%93%E8%97%8F</ref>道藏<ref>https://zh.m.wikipedia.org/zh-hans/%E9%81%93%E8%97%8F</ref> จากนั้นได้มีการเผยแพร่ตามรับสั่งของ[[จักรพรรดิจีน]] และเป็นศาสนาประจำชาติจีนมาตลอดจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงไม่ได้อยู่ในอุปถัมภ์ของราชสำนัก
 
ปัจจุบัน ศาสนาเต๋าเป็นหนึ่งในห้าศาสนาที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการใน[[ประเทศจีน]]และ[[ประเทศไต้หวัน]] แม้ศาสนานี้จะไม่แพร่หลายนอกประเทศจีนนัก<ref>''The Ancient Chinese Super State of Primary Societies: Taoist Philosophy for the 21st Century'', You-Sheng Li, June 2010, p. 300</ref> แต่ก็พบว่ามีศาสนิกชนจำนวนหนึ่งใน[[ฮ่องกง]] [[มาเก๊า]] และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]