ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 7957458 สร้างโดย 223.204.9.203 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
| succession = [[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]
| สี = Red
| reign-type = ดำรงพระยศ
| ภาพ =
|อยู่ในตำแหน่ง reign = [[พ.ศ. 2284]] - [[พ.ศ. 2298]] (14 ปี)
| predecessor = [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ|เจ้าฟ้าพร]]
| succession = [[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]
|predecessor successor = [[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร|เจ้าฟ้าพรดอกเดื่อ]]
|successor = [[เจ้าฟ้าดอกเดื่อ]]
| full name = เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุริยวงศ์
| titlebirth_style = กรมพระราชวังบวรสถานมงคลสมภพ
| birth_date = [[พ.ศ. 2258]]
| death_date = [[พ.ศ. 2298]]
| father = [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]
| mother = [[กรมหลวงอภัยนุชิต]]
| spouse-type = พระชายา
| spousesspouse = เจ้าฟ้าอินทสุดาวดี กรมขุนยิสารเสนี
| พระราชสวามี =
| issue =[[กรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์|พระองค์เจ้าฟ้าอาทิตยวงศ์ กรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์]]<br>พระองค์เจ้าฉาย<br>พระองค์เจ้าหญิงมิตร<br>พระองค์เจ้าหญิงทับ<br>พระองค์เจ้าหญิงชื่น<br>พระองค์เจ้าศรีสังข์<br>พระองค์เจ้าหญิงดารา<br>พระองค์เจ้าแม้น<br>พระองค์เจ้าหญิงชี<br>พระองค์เจ้าหญิงชาติ<br>พระองค์เจ้ามิ่ง
| dynasty = [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
| ทรงราชย์ =
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ =
|personal name = เจ้าฟ้ากุ้ง
}}
 
เส้น 32 ⟶ 27:
 
=== เหตุแห่งการออกผนวช ===
เนื่องจาก[[เจ้าฟ้าพระนเรนทร กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์]] พระราชโอรสใน[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9|สมเด็จพระเจ้าท้ายสระ]] นั้น ทรงสนิทกับพระราชบิดาของพระองค์อย่างมาก ทำให้พระองค์เกิดความระแวงขึ้น เมื่อพระราชบิดาทรงประชวรและเจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์เสด็จมาทรงเยี่ยม พระองค์จึงตรัสให้พระองค์เจ้าชื่นและพระองค์เจ้าเกิดไปนิมนต์เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์เข้ามายังพระราชวังหน้า เมื่อเจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์เสด็จมาถึง พระองค์ได้ใช้พระแสงดาบฟันเจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ แต่ไม่ทรงได้รับบาดเจ็บเพียงถูกแต่ผ้าจีวรขาดเท่านั้น เมื่อพระองค์ทอดพระเนตรเห็นดังนั้นจึงเกรงพระราชอาญาแล้วจึงเสด็จไปยังตำหนักกรมหลวงอภัยนุชิต พระมารดาของพระองค์
 
หลังจากนั้น เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์เสด็จเข้าเฝ้าสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และพระองค์ตรัสถามว่า เหตุใดผ้าจีวรจึงขาด เจ้าฟ้าพระฯ กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ถวายพระพรว่ากรมขุนเสนาพิทักษ์หยอกท่าน เมื่อเจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ถวายพระพรลาสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแล้ว กรมหลวงอภัยนุชิตได้เสด็จมาอ้อนวอนและตรัสว่าถ้าท่านไม่ช่วยในคราวนี้เห็นทีกรมขุนเสนาพิทักษ์คงสิ้น เจ้าฟ้าพระฯ กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์จึงตรัสว่าคงมีแต่ร่มกาสาวพัตรเท่านั้นที่จะช่วยได้ กรมหลวงอภัยนุชิตจึงพากรมขุนเสนาพิทักษ์เสด็จออกผนวชทันทีที่วัดโคกแสง มีพระนามฉายาว่า "สิริปาโล"<ref name="เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร">{{cite web |url= http://www.literatureandhistory.go.th/index.php?app=academic&fnc=detail&acaid=14480 |title= เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร |work= |publisher= |accessdate=23 มีนาคม 2556}}</ref>
 
ในครั้งนั้นสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงพระพิโรธกรมขุนเสนาพิทักษ์มาก มีพระราชดำรัสให้ค้นหาตัวจนทั่วพระราชวัง แต่พบเพียงพระองค์เจ้าชื่นและพระองค์เจ้าเกิดที่สมรู้ร่วมคิดเท่านั้น จึงมีพระราชดำรัสให้นำตัวทั้ง 2 พระองค์ไป[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]
 
=== การขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ===
 
เมื่อปี พ.ศ. 2280 กรมหลวงอภัยนุชิตทรงพระประชวรหนักและได้ตรัสทูลขอพระราชทานอภัยโทษให้กรมขุนเสนาพิทักษ์ซึ่งผนวชอยู่นั้น สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวก็พระราชทานอภัยโทษให้ หลังจากนั้น กรมหลวงอภัยนุชิตก็เสด็จสวรรคตลง ส่วนกรมขุนเสนาพิทักษ์ทรงลาผนวชและได้เข้าเฝ้าละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวดังเดิม
 
ในปี พ.ศ. 2284 พระราชโกษาปานบ้านวัดระฆังได้กราบบังคมทูลสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวขอพระราชทานให้สถาปนากรมขุนเสนาพิทักษ์ขึ้นประดิษฐานที่[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำรัสให้ประชุมเสนาบดี เมื่อทุกฝ่ายเห็นพ้องต้องกันแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งพระราชพิธีอุปราชาภิเษกสถาปนากรมขุนเสนาพิทักษ์ขึ้นเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] พร้อมกันนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้เจ้าฟ้าอินทสุดาวดีทรงกรมที่กรมขุนยิสารเสนี และพระราชทานให้เป็นพระอัครชายาในกรมพระราชวังบวรฯ ด้วย
 
=== เสด็จสวรรคต ===
เส้น 54 ⟶ 48:
 
== พระนิพนธ์ ==
พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถหลายด้าน โดยเฉพาะด้าน[[วรรณกรรม]] พระองค์ทรงเป็นกวีที่ยิ่งใหญ่ในสมัยกรุงศรีอยุธยาพระองค์หนึ่ง ผลงานด้านวรรณกรรมที่พระองค์ทรงนิพนธ์ไว้โดยมากจะเป็นคำประพันธ์ประเภทกาพย์ห่อโคลงมากกว่างานพระนิพนธ์ชนิดอื่น ๆ พระนิพนธ์ประเภทกาพย์ที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป เช่น พระนิพนธ์ "[[กาพย์เห่เรือ]]" แบ่งออกเป็น 2 เรื่อง เรื่องแรกเป็นบทชมพยุหยาตราทางชลมารค ต่อด้วยชมเรือ ชมปลา ชมไม้ และชมนก [[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 4 กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] สันนิษฐานว่า เป็นบทเห่เรือที่ทรงนิพนธ์ขึ้นเพื่อใช้สำหรับเห่เรือพระที่นั่งของพระองค์เองเวลาตามเสด็จขึ้นพระบาท<ref>กาพย์เห่เรือเจ้าฟ้ากุ้ง, หน้า 4</ref> ส่วนเรื่องที่ 2 ได้หยิบยกเอาเรื่องพระยาครุฑลักนางกากีมาเป็นบทนำ ซึ่งกรมพระยาดำรงราชานุภาพ สันนิษฐานว่า เป็นบทที่สะท้อนความในพระหฤทัยของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรที่ลอบผูกสมัครรักใคร่กับเจ้าฟ้าสังวาล ด้วยเหตุนี้แต่เดิมเห็นจะใช้บทนี้เห่เวลาประพาสทางเรือโดยลำพัง<ref>กาพย์เห่เรือเจ้าฟ้ากุ้ง, หน้า 5</ref> บทเห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป เช่น
 
พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถหลายด้าน โดยเฉพาะด้าน[[วรรณกรรม]] พระองค์ทรงเป็นกวีที่ยิ่งใหญ่ในสมัยกรุงศรีอยุธยาพระองค์หนึ่ง ผลงานด้านวรรณกรรมที่พระองค์ทรงนิพนธ์ไว้โดยมากจะเป็นคำประพันธ์ประเภทกาพย์ห่อโคลงมากกว่างานพระนิพนธ์ชนิดอื่น ๆ พระนิพนธ์ประเภทกาพย์ที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป เช่น พระนิพนธ์ "[[กาพย์เห่เรือ]]" แบ่งออกเป็น 2 เรื่อง เรื่องแรกเป็นบทชมพยุหยาตราทางชลมารค ต่อด้วยชมเรือ ชมปลา ชมไม้ และชมนก [[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 4 กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] สันนิษฐานว่า เป็นบทเห่เรือที่ทรงนิพนธ์ขึ้นเพื่อใช้สำหรับเห่เรือพระที่นั่งของพระองค์เองเวลาตามเสด็จขึ้นพระบาท<ref>กาพย์เห่เรือเจ้าฟ้ากุ้ง, หน้า 4</ref> ส่วนเรื่องที่ 2 ได้หยิบยกเอาเรื่องพระยาครุฑลักนางกากีมาเป็นบทนำ ซึ่งกรมพระยาดำรงราชานุภาพ สันนิษฐานว่า เป็นบทที่สะท้อนความในพระหฤทัยของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรที่ลอบผูกสมัครรักใคร่กับเจ้าฟ้าสังวาล ด้วยเหตุนี้แต่เดิมเห็นจะใช้บทนี้เห่เวลาประพาสทางเรือโดยลำพัง<ref>กาพย์เห่เรือเจ้าฟ้ากุ้ง, หน้า 5</ref> บทเห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป เช่น
{{คำพูด|''สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย''<br/>
''งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์''<br/>
เส้น 74 ⟶ 67:
| 2. || เจ้าฟ้าหญิงเส || เจ้าฟ้าศรี
|-
| 3. || หม่อมพัน || [[พระองค์เจ้าอาทิตย์ กรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์]]
|-
| 4. || หม่อมเหม หรือ เหญก || พระองค์เจ้าฉาย หรือ พระองค์เจ้าฉัตร หรือ พระองค์เจ้าเกิด
เส้น 117 ⟶ 110:
|7= 7. ''ไม่ปรากฏนาม''<br>สตรีชาวบ้านสมอพลือ
|8= 8. [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]
|9= 9. [[พระนางนางกุสาวดี]]
|10=
|11=
เส้น 151 ⟶ 144:
| รูปภาพ = Seal of Ayutthaya (King Narai).png
| ตำแหน่ง = [[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]<br /> ([[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]])
| ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2284]] - [[พ.ศ. 2289]]
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = เจ้าฟ้าพร<br>([[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]])
เส้น 168 ⟶ 161:
[[หมวดหมู่:กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]
[[หมวดหมู่:กวีชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:เจ้าฟ้าชาย]]
[[หมวดหมู่:พระราชบุตรในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]