ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดนตรีสมัยโรแมนติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6:
ดนตรียุคโรแมนติกมีลักษณะของแนวทำนองที่เต็มไปด้วยการบรรยายความรู้สึก มีแนวทำนองเด่นชัด ลักษณะการแบ่งวรรคตอนเพลงไม่ตายตัว [[การประสานเสียง]]ได้พัฒนาต่อจาก[[ยุคคลาสสิก (ดนตรี)|ยุคคลาสสิก]]ทำให้เกิดการคิด[[คอร์ด]]ใหม่ๆ เพิ่มขึ้น เพื่อใช้แสดงออกถึงอารมณ์และความรู้สึก มีการนำคอร์ดที่เสียงไม่กลมกลืนมาใช้มากขึ้น มีการใช้โน้ตนอกคอร์ด [[บันไดเสียง]]ที่มีโน้ตครึ่งเสียง (Chromatic Scale) การเปลี่ยนบันไดเสียงหนึ่งไปอีกบันไดเสียงหนึ่งอย่างคาดไม่ถึง การประสานเสียงแบบโฮโมโฟนี (Homophony) ยังคงเป็นลักษณะเด่นสืบเนื่องมาจากยุคคลาสสิก การใช้เสียงดัง-เบา มีตั้งแต่ ppp ไปจนถึง fff [[คีตลักษณ์]]ของเพลง (form) ยังคงเป็นแบบโซนาต้าฟอร์มแบบยุคคลาสสิก แต่มีความยืดหยุ่นของโครงสร้าง
 
ในยุคนี้ดนตรีบรรเลง และบทเพลงสำหรับเปียโน เป็นที่นิยมประพันธ์กันมากขึ้น ลักษณะของ[[วงออร์เคสตรา]]จะมีขนาดใหญ่ขึ้นตามแต่ผู้ประพันธ์เพลงจะกำหนด เพลงคฤหัสถ์หรือเพลงสำหรับชาวบ้านเป็นที่นิยมประพันธ์กัน แต่เพลงโบสถ์ก็ยังคงมีการประพันธ์อยู่เช่นกัน ในลักษณะของ[[เพลงแมส]] ที่ใช้เพื่อประกอบศาสนพิธี และเพลง[[เรเควียม]] ที่ใช้ในพิธีศพ สำหรับบทเพลง[[อุปรากร]] และเพลงร้องก็มีพัฒนาการควบคู่ไป เนื้อร้องมีตั้งแต่การล้อการเมือง ความรักกระจุ๋มกระจิ๋ม และ จิ๋ม ไปจนถึงเรื่องโศกนาฏกรรม
 
==นักดนตรีในยุคโรแมนติก==