ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 42:
| thaifilmdb_id =
}}
<br>
 
== ประวัติ ==
'''ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก''' เจ้าของฉายา "ราชาโลกบันเทิง"<ref name = Memorandum>'เส้นทางชีวิต ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก' '', อนุสรณ์งาน พระราชทานเพลิงศพนายประดิษฐ์ กัลย์จาฤก'', 2540</ref><ref>'King of Entertainment', ''ผู้จัดการรายสัปดาห์'', ปีที่ 7, ฉบับที่ 348 </ref><ref>'เจ้่าพ่อวงการโทรทัศน์', ''เดลินิวส์'', 12 เมษายน 2540</ref><ref>'Thai Show Business Giant', ''Bangkok Post'', May 14,1996</ref> เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2470 เป็นทายาทคนสุดท้องต่อจากดวงแข จำนง ศศี และเพ็ญแข ของนายวีระและนางทองคำ กัลย์จาฤก และเป็นบุตรบุญธรรมของขุนพิทักษ์และภรรยา<ref name = Memorandum/> นอกจากจะเป็นที่รู้จักในฐานะ นักพากษ์ นักแสดง ผู้กำกับ ผู้อำนวยการแสดง ผู้ผลิตและผู้อำนวยการผลิตละครวิทยุ, โทรทัศน์และภาพยนตร์แล้ว ท่านยังเป็นนักเขียนที่มีผลงานมากมายอาธิ [[แฝดล่องหน]] [[ปะการังสีดำ]] [[ห้องหุ่น]] [[ปอบผีฟ้า]] [[สุสานคนเป็น]] [[คนตาทิพย์]] และ [[เพชรตาแมว (บทประพันธ์)|เพชรตาแมว]] เป็นต้น <ref name = 60years>'60 ปีกันตนา 60 บทประพันธ์คัดสรร ประดิษฐ์ -สมสุข กัลย์จาฤก', กรุงเทพฯ, บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด, 2555</ref><ref name = Memorandum/> แต่ที่สำคัญท่านเป็นผู้ก่อตั้ง[[กันตนา]] (บ.กันตนา กรุ๊ปในปัจจุบัน) ร่วมกับภรรยา[[สมสุข กัลย์จาฤก]]<ref name = Memorandum/><ref>[http://www.nangdee.com/name/f/8470/นิรัตติศัย--กัลย์จาฤก.html ประวัตินิรัตติศัย กัลย์จาฤกที่ Nangdee.com]</ref> ซึ่งมีบุตรด้วยกันรวม 5 คนคือ สิทธานต์ จาฤก ปนัดดา [[นิรัตติศัย กัลย์จาฤก|นิรัตติศัย]] และจิตรลดา<ref name = Memorandum/>
 
== การเข้าสู่วงการบันเทิง ==
ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก ก้าวเข้าสู่วงการบันเทิงในปี พ.ศ. 2486 ด้วยการเป็นนักร้องในวง '''ศิลปจาฤก''' ที่เริ่มเดินสายเปิดการแสดงต่างจังหวัดของพี่สาวเพ็ญแข ซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะศิลปินนักร้องนักแสดงในตอนนั้น ต่อมาในปี พศ.2489 เมื่อเพ็ญแข กัลย์จาฤกกลับไปยึดการแสดงละครร้องประจำที่[[เวิ้งนครเขษม]]และ[[ศาลาเฉลิมไทย]] ประดิษฐ์ก็ตามไปร้องเพลงสลับฉากและเริ่มเป็นนักแสดงที่นั่นด้วยการรับบท 'ทหารยืนเสา' ต่อมาเขาก้าวไปรับจ้างพากย์หนังกลางแปลงให้บริษัทเอเซียภาพยนตร์ ซึ่งในตอนนั้นมีนายเอิบ กันตถาวรเป็นผู้จัดการอยู่ การได้พบและร่วมงานกับนายเอิบจึงถือเป็นจุดเริ่มต้นของงานละครวิทยุและจุดกำเนิดของชื่อ กันตนา ในเวลาต่อมา หลังจากเป็นนักพากย์ได้ไม่นาน ครูเอิบชอบใจในนำ้เสียงที่กังวานจึงชวนให้ประดิษฐ์มาเล่นละครเป็นพระเอกให้คณะกันตถาวร<ref name = Memorandum/>
 
== บิดาผู้ให้กำเนิดกันตนา ==
ในขณะที่ประดิษฐ์เล่นละครอยู่กับคณะกันตถาวรนั่นเองที่เขาได้พบรักกับสมสุข อินทรทูต (สินสุข) และทั้งคู่ได้สมรสกันเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2493 และในช่วงเวลานั้นก็เป็นช่วงที่ผงซักฟอกแฟ้บและยาสีฟันคอลเกตเริ่มบุกตลาดเมืองไทยใหม่ๆ ซึ่งทุ่มงบโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อวิทยุอย่างมาก ส่งผลให้กิจการวิทยุไทยเริ่มรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก<ref name = manager1>{{cite web |url=http://info.gotomanager.com/news/printnews.aspx?id=9254 |title = "กันตนา" เก้าอี้สามขาในโลกธุรกิจบันเทิงตราบเท่าที่ยังเข้าใจโลกของการเปลี่ยนแปลง.…THE SHOW MUST GO ON| publisher = Manager Online|date =December 1986|access-date=31 October 2017}}</ref> ครูเอิบจึงสนับสนุนให้ประดิษฐ์ก่อตั้งคณะละครวิทยุขึ้นใหม่อีกคณะหนึ่ง ในปีพ.ศ.2494 กันตนา จึงได้ถือกำเนิดขึ้นในวงการบันเทิงเมืองไทย<ref name = Memorandum/>
 
== ผลงาน ==
'หญิงก็มีหัวใจ' ของคณะกันตนาจากบทประพันธ์ของประดิษฐ์ กัลย์จาฤก และบทละครวิทยุโดย กุสุมา สินสุข (นามปากกาของภรรยาที่ประดิษฐ์ตั้งให้) เป็นละครวิทยุที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และเป็นจุดเรื่ามต้นของการก้าวสู่งานด้านละครโทรทัศน์ของกันตนา ด้วยการนำเอา 'หญิงก็มีหัวใจ' มาทำเป็นละครโทรทัศน์ ออกอากาศทาง ททบ.7 ขาวดำ (ช่อง5 ปัจจุบัน)<ref name = Memorandum/>
 
เส้น 64 ⟶ 67:
ปี พ.ศ.2533 บริษัท กันตนา จำกัด ร่วมกับบริษัท โตเอะ จำกัด จากประเทศญี่ปุ่น จัดตั้งบริษัท กันตนาแอนนิเมชั่น ขึ้นเพื่อผลิตงานแอนนิเมชั่นป้อนตลาดทั้งในประเทศและระดับสากล<ref name = manager4/>
 
== รางวัลเกียติยศ ==
ตลอดเวลากว่า 50 ปีที่ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก ได้เป็นผู้บุกเบิกอยู่ในวงการบันเทิงไทยเขาได้รับรางวัลเกียติยศถึง 16 รางวัลจากการทุ่มเทให้กับครอบครัวและการสร้างสรรค์สาระบันเทิง รวมไปถึงกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ต่างๆอีกมากมาย และนอกจากนั้นในปี พ.ศ.2539 ประดิษฐ์ยังได้รับพระราชทานปริญญากิตติมศักดิ์ศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิทยุและโทรทัศน์ จาก[[สถาบันราชภัฏสวนดุสิต]] อีกด้วย<ref name = Memorandum/>ประดิษฐ์ประสบความสำเร็จได้ด้วยการปฏิบัติตามบัญญัติ 9 ประการคือ รักเกียรติ มั่นคง ตรงเวลา สามัคคี มีสัจจะ มานะอดทน สนงาน สร้างสรรค์ และมนุษย์สัมพันธ์<ref name = manager3/>