ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลนส์นูน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
NP-chaonay (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบข้อความและลบข้อมูลที่ซ้ำออก
บรรทัด 1:
{{ตรวจแก้รูปแบบ}}
เลนส์นูน (Convex Lens) คือ เลนส์ที่มีลักษณะตรงกลางหนากว่าส่วนขอบ เลนส์นูนทำหน้าที่รวมแสง หรือลู่แสงให้เข้ามารวมกันที่จุดจุดหนึ่งเรียกว่า จุดรวมแสง หรือ จุดโฟกัส ภาพที่เกิดจากเลนส์นูนเมื่อลำแสงผ่านขนานเข้าหาเลนส์จะทำให้รังสีพุ่งเข้าหากัน เลนส์นูนสามารถให้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน และภาพไปตัดกันจริงเป็นภาพที่ฉากสามารถรับได้เป็นภาพหัวกลับกับวัตถุจุดโฟกัสจริง ส่วนภาพเสมือนเป็นภาพที่ฉากไม่สามารถรับได้(Real เป็นภาพหัวตั้งเหมือนวัตถุfocus) ภาพจริงที่เกิดจากเลนส์นูนมีหลายขนาด<ref>[http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=697&Itemid=4 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระยะวัตถุ และตำแหน่งภาพจริงที่จะเกิดหลังเลนส์ ภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์นูนมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุและตำแหน่งภาพเสมือนจะเกิดหน้าเลนส์http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=697&Itemid=4]</ref>
 
เลนส์นูนจะสามารถให้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของวัตถุ ถ้าระยะวัตถุมากกว่า ความยาวโฟกัส จะเกิดภาพจริง แต่ถ้าระยะวัตถุน้อยกว่าความยาวโฟกัส จะเกิดภาพเสมือน <ref>[http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=697&Itemid=4 http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=697&Itemid=4]</ref>
 
ภาพจริงเป็นภาพที่ฉากสามารถรับได้เป็นภาพหัวกลับกับวัตถุ ส่วนภาพเสมือนเป็นภาพที่ฉากไม่สามารถรับได้ เป็นภาพหัวตั้งเหมือนวัตถุ ภาพจริงที่เกิดจากเลนส์นูนมีหลายขนาด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระยะวัตถุและตำแหน่งภาพจริงที่จะเกิดหลังเลนส์ ภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์นูนมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุและตำแหน่งภาพเสมือนจะเกิดหน้าเลนส์ <ref>[http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=697&Itemid=4 http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=697&Itemid=4]</ref>
 
 
ทั้งนี้ เลนส์นูนได้ถูกนำไปใช้ในอุปกรณ์ต่าง เช่น
* แว่นขยาย
* แว่นสายตายาว
* กล้องถ่ายรูป
* กล้องจุลทรรศน์
* กล้องส่องทางไกล
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
เลนส์นูนจะให้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของวัตถุ ถ้าระยะวัตถุมากกว่า ความยาวโฟกัส จะเกิดภาพจริง แต่ถ้าระยะวัตถุน้อยกว่าความยาวโฟกัส จะเกิดภาพเสมือน เลนส์นูน คือ เลนส์ที่มีตรงกลางหนากว่าตรงขอบเสมอ เมื่อผ่านลำแสงขนานเข้าหาเลนส์จะทำให้รังสีพุ่งเข้าหากัน และไปตัดกันจริงที่จุดโฟกัสจริง(Real focus ) เลนส์นูนใช้ทำแว่นขยาย แว่นสายตายาว เป็นส่วนประกอบกล้องถ่ายรูป กล้องจุลทรรศน์ กล้องส่องทางไกล
ภาพที่เกิดจากเลนส์
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
เลนส์นูนสามารถให้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน และภาพจริงเป็นภาพที่ฉากสามารถรับได้เป็นภาพหัวกลับกับวัตถุ ส่วนภาพเสมือนเป็นภาพที่ฉากไม่สามารถรับได้ เป็นภาพหัวตั่งเหมือนวัตถุ
ภาพจริงที่เกิดจากเลนส์นูนมีหลายขนาด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระยะวัตถุ และตำแหน่งภาพจริงที่จะเกิดหลังเลนส์
ภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์นูนมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุและตำแหน่งภาพเสมือนจะเกิดหน้าเลนส์
[[อ้างอิงจาก http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=697&Itemid=4 ]]
เลนส์นูนจะให้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของวัตถุ ถ้าระยะวัตถุมากกว่า ความยาวโฟกัส จะเกิดภาพจริง แต่ถ้าระยะวัตถุน้อยกว่าความยาวโฟกัส จะเกิดภาพเสมือน
[[หมวดหมู่:เลนส์]]