ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Infobox royalty
| name = อะลี อิบน์ อะบีฏอลิบ
| image = Rashidun Caliph Ali ibn Abi Talib - علي بن أبي طالب.svg
| alt =
| succession = [[เคาะลีฟะฮ์]]แห่ง[[รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน|รอชิดีน]] <br> (มุมมองของ[[ซุนนี]])
| reign = ค.ศ. 656–661<ref name="Britannica"/>
| predecessor = [[อุสมาน]]
| successor = [[ฮะซัน อิบน์ อะลี|ฮะซัน]]
| birth_date = 15 กันยายน ค.ศ.601 (13&nbsp;[[เราะญับ]] 21 ก่อนฮิจเราะฮ์ศักราช)<ref name="Britannica"/><ref name="Iranica"/><ref name="Al-Islam"/>
| birth_place = [[มักกะฮ์]], [[คาบสมุทรอาหรับ]]<ref name="Britannica"/><ref name="Guidance">{{cite book|last1=Rahim|first1=Husein A.|last2=Sheriff|first2=Ali Mohamedjaffer|title=Guidance From Qur'an|publisher=Khoja Shia Ithna-asheri Supreme Council|url=https://books.google.com/books?id=9v2qAgAAQBAJ&pg=PA52&dq=ali+was+born+in+kaaba|accessdate=11 April 2017|language=en|year=1993}}</ref>
| death_date = 29 มกราคม ค.ศ.661 (21&nbsp;[[เราะมะฎอน]] ฮ.ศ.&nbsp;40)<br /> (อายุ {{age|601|9|15|661|1|29}} ปี)<ref name="Iranica"/><ref name="Al-Islam"/><ref>Shad, Abdur Rahman. ''Ali Al-Murtaza''. Kazi Publications; 1978 1st Edition. Mohiyuddin, Dr. Ata. ''Ali The Superman''. Sh. Muhammad Ashraf Publishers; 1980 1st Edition. Lalljee, Yousuf N. ''Ali The Magnificent''. Ansariyan Publications; January 1981 1st Edition.</ref><ref>{{cite book|url=https://archive.org/details/aliIbnAbiTalibr2Vol.Set|last=Sallaabee|first=Ali Muhammad|title=Ali ibn Abi Talib (volume 2)|page=621|accessdate=15 December 2015}}</ref>
| death_place = [[คูฟาฮ์]], [[ประเทศอิรัก]]
| burial_place = [[มัสยิดอิหม่ามอะลี]], [[นาญาฟ]], [[ประเทศอิรัก]]
| spouse = {{unbulleted list|[[ฟาฏิมะฮ์]]|[[Umamah bint Zainab]]|[[Umm ul-Banin]]|Leila bint Masoud|[[Asma bint Umays]]|[[Khawlah bint Ja'far]]|Al Sahba' bint Rabi'ah}}
| issue = {{unbulleted list | '''[[ลูกหลานของอะลี]]''' |[[Hasan ibn Ali|Al-Hasan]]|[[Husayn ibn Ali|Al-Husayn]]|[[Zaynab bint Ali|Zaynab]]|[[Umm Kulthum bint Ali|Umm Kulthum]]|[[Muhsin ibn Ali|Muhsin]]|[[Muhammad ibn al Hanafiyyah ibn Ali|Muhammad]]|[[Abbas ibn Ali|Abbas]]|[[Abdullah ibn Ali|Abdullah]]|[[Hilal ibn Ali|Hilal]]|[[Muhammad ibn Abi Bakr]](บุตรชายคนโต)}}
| full name = อะลี อิบน์ อะบีฏอลิบ
{{lang-ar|علي ابن أبي طالب}}
| house = [[กุเรช]] ([[บนูฮาชิม]])
| house-type = เผ่า
| father = [[อบูฏอลิบ อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ]]
| mother = [[ฟาติมะฮ์ บินต์ อะซัด]]
| religion = [[ฮะนีฟ]] (ในปีค.ศ.610)/[[อิสลาม]]
| succession1 = [[อิมามะฮ์|อิหม่าม]]คนแรกของชีอะฮ์ <br/>(มุมมองของ[[ชีอะฮ์สิบสองอิมาม]], [[ซัยดี]] และ[[นิซารี]])
| reign1 = ค.ศ.632–661
| successor1 = [[ฮะซัน อิบน์ อะลี]] {{small|(อิหม่ามคนที่ 2)}}
| succession2 = [[อิมามะฮ์ (อิสมาอิลี)|อะซาส/วาซิฮ์]]ของชีอะฮ์ <br/>(มุมมองของ[[อิสมาอีลียะฮ์]])
| successor2 = [[ฮะซัน อิบน์ อะลี]] {{small|(อิหม่ามคนแรก)}} <!--Hasan is the 1st Imam in the [[Musta'li]] view-->
}}
{{อิสลาม}}
เส้น 32 ⟶ 31:
 
== ประวัติ ==
อะลีกำเนิดใน[[กะอ์บะฮ์]] มหานคร[[มักกะฮ์]] วันที่ 13 เดือนเราะญับ [[ปีช้าง]]ที่ 30 ตรงกับวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 599 หรือปีที่ 10 ก่อน[[มับอัษ]]การแต่งตั้งศาสดามุฮัมมัด
 
บิดาของท่านคือ [[อะบูฏอลิบ]] และมารดาคือ [[ฟาฏิมะหฺ บินตุ อะสัด]]
อะลีกำเนิดใน[[กะอ์บะฮ์]] มหานคร[[มักกะฮ์]] วันที่ 13 เดือนเราะญับ [[ปีช้าง]]ที่ 30 ตรงกับวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 599 หรือปีที่ 10 ก่อน[[มับอัษ]]การแต่งตั้งศาสดามุฮัมมัด
 
บิดาของท่านคือ [[อะบูฏอลิบ]] และมารดาคือ [[ฟาฏิมะหฺ บินตุ อะสัด]]
 
ท่านมีบุตร 36 คน ในจำนวนนั้นคือ [[ฮะซัน อิบน์ อะลี|ฮะซัน]] [[ฮุซัยน์ อิบน์ อะลี|ฮุซัยน์]] ซัยนับ และ[[มุฮัมมัด อิบนุลฮะนะฟียะหฺ]]
เส้น 42 ⟶ 40:
 
== นะหฺญุลบะลาเฆาะหฺ ==
 
[[นะหฺญุลบะลาเฆาะหฺ]] (ยอดโวหาร) เรียกในภาษาอังกฤษว่า Peak of Elloquence เป็นหนังสือรวบรวมสุนทโรวาทและสุภาษิตของอะลี ที่เป็นมรดกอันล้ำค่าตกทอดมาจนถึงวันนี้ รวบรวมโดย[[ชะรีฟ อัรรอฎีย์]]
 
เส้น 48 ⟶ 45:
 
เมื่อมอบธงชัยให้แก่มุฮัมมัด อิบนุลฮะนะฟียะหฺ กล่าวว่า "แม้นภูเขาจะเคลื่อนที่เธอก็จงมั่นอย่าเคลื่อนที่ จงกัดกรามของเธอ จงให้อัลลอหฺทรงยืมกะโหลกศีรษะของเธอ จงตอกเท้าเข้าในธรณี ยิงจักษุให้ไกลสุดหมู่มนุษย์ จงลดสายตาของเธอลงต่ำ และจงทราบเถิดว่า ชัยชนะนั้นมาจากอัลลอหฺพระพิสุทธิคุณ"
 
 
== วรรณกรรมอิมามอะลี ==
 
นอกจากคำปาฐกถา และ[[ฮะดีษ]]แล้ว ยังมีบทกวีมากมาย ที่บันทึกจากอิมามอะลี และมีการรวบรวมเป็นเล่ม
 
=== ตัวอย่างบทกวีของอิมามอะลี ===
 
{{เริ่มบทกวี}}
{{บทกวี|indent=1
เส้น 85 ⟶ 79:
 
=== ตัวอย่างสุนทรโรวาทของอิมามอะลี ===
 
การให้อภัย
๐ การให้อภัยนับเป็นมงกุฏของคุณภาพที่ยิ่งใหญ่
เส้น 96 ⟶ 89:
 
๐ จงอย่ารีบเร่งไปสู่การลงโทษบุคคลผู้หนึ่ง ในความผิดหนึ่งที่เขากระทำ แต่จงปล่อยให้มีโอกาสเพื่อการขออภัย ในระหว่างการกระทำผิดและ
การลงโทษ
 
๐ จงลงโทษคนใช้ของท่านหากเขาฝ่าฝืนคำสั่งของพระเจ้า แต่จงอภัยให้กับการที่เขาดื้อดึงไม่ทำตามท่าน
เส้น 112 ⟶ 105:
 
== ความพิเศษของอิมามอะลี ==
นักปราชญ์ชาวซุนนะหฺอย่างน้อย ๑๐ ท่านได้รายงาน[[ฮะดีษ]]เกี่ยวกับภักดีต่ออะลี เป็นทางนำสู่สวรรค์ เพราะการภักดีต่อท่านเป็นการภักดีต่ออัลลอหฺ
 
นักปราชญ์ชาวซีอะอย่างน้อย ๘ ท่านได้รายงาน[[ฮะดีษ]]เกี่ยวกับการที่ ท่านนบีได้เรียกทักทายอะลีว่า "สวัสดี นายแห่งมุสลิมชน และ อิมามแห่งชนผู้ยำเกรง"
 
[[ฮะดีษ]]ดังกล่าวเป็นการอธิบายความหมายและจุดประสงค์ของอายะหฺอัลกุรอานในเรื่องของอิมามยังไม่น่าสงสัย
 
๒. ในการขอพรดังที่กล่าวมา ท่านนบีมูซา ได้ขอจากอัลลอหฺ ให้แต่งตั้ง "อะหฺลี" (คนในครอบครัวข้าฯ) เป็นผู้ช่วยกิจการ แล้วท่านนบีก็ได้ขอให้อัลลอหฺแต่ตั้งคนในครอบครัวของท่านเป็นผู้ช่วยกิจการของท่านเช่นกัน คนๆนั้นคือท่านอะลี ตาม[[ฮะดีษ]] ดังกล่าว นั่นก็เพราะว่าท่านมีคุณสมบัติที่ครบถ้วนเหมาะแก่การเป็นผู้นำ และเป็นผู้หนึ่งในจำนวนสี่คนที่ท่านนบีได้เอาผ้ามาคลุมเป็นสัญลักษณ์ ตอนอายะหฺ ๓๓:๓๓ ลงมา แล้วขอพรว่า โอ้อัลลอหฺ พวกเขาเหล่านี้คือครอบครัวของข้าฯ ขอให้พระองค์ขจัดความโสโครกออกไปจากพวกเขา และได้ทรงขัดเกลาให้พวกเขาสะอาด
 
ถึงแม้ ท่านหญิงอุมมุซะละมะหฺ ซึ่งอยู่ในเหตุการณ์ต้องการเข้ามาในผ้านั้น ท่านนบีก็ไม่อนุญาตให้ นี่เป็นหลักฐานแสดงให้เห็นว่า ภรรยาท่านนบีไม่ใช่อะหฺลุลบัยตฺตามที่อัลกุรอานประสงค์ (มีตำราชาวซุนนะหฺระบุเรื่องนี้ อย่างน้อย ๕๓ เล่ม)
 
อายะหฺ ๓๓:๓๓ เป็นหลักฐานบ่งบอกถึงความสะอาดของท่านอะลีผู้ที่ได้รับสมญานามว่าเป็นวะลีย์ (ผู้ปกครอง) ดั่งที่กล่าวมาข้างต้นในข้อ ๑.
 
๓. เมื่อท่านอะลีเป็นผู้ปกครองดั่งที่กล่าวมาแล้ว ผู้ตามก็ต้องจงรักภักดี และการจงรักภักดีนี้จึงเป็นหลักการศรัทธาที่สามารถจะเป็นเครื่องตัดสินว่า คน ๆ หนึ่งเป็นผู้ศรัทธาหรือไม่ อัลกุรอานบอกว่า "จงกล่าวเถิด ว่าฉันจะไม่ขอสิ่งใดเป็นเครื่องตอบแทน นอกจากการรักต่อญาตินี้ (อัชชูรอ ๒๓) นั่นคือ อะลี ฟาฏิมะหฺ ฮะซัน และฮุเซน ตาม[[ฮะดีษ]]ที่รายงานในตำราชาวซุนนะหฺ อย่างน้อย ๓๓ เล่ม
 
ความรักที่เป็นภาคบังคับไม่ใช่ความรักธรรมดา และไม่ใช่ต่อคนธรรมดา ความรักนี้เป็นความรักต่อบรรดาผู้คนที่อัลลอหฺได้ประกันสวนสวรรค์ให้ ผู้ใดที่ไม่รักอะลีและอีก ๓ คนนั้น ก็จะกลายมุนาฟิกโดยไม่ต้องมาโต้แย้ง ([[ฮะดีษ]]เกี่ยวกับเรื่องนี้มีอยู่ในตำราซุนนะหฺมากมาย) เพราะการรักที่อายะหฺดังกล่าวต้องการได้กลายเป็นสัญลักษณ์หนึ่งการศรัทธาที่ถูกต้อง
 
{{birth|599}}{{death|661}}
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{birthlifetime|599}}{{death|661}}
[[หมวดหมู่:ชาวอาหรับ]]
[[หมวดหมู่:อิมาม]]