ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดประดู่ทรงธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'ทรงผนวช'→'ผนวช'
Nupkao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''วัดประดู่ทรงธรรม''' หรือ '''วัดประดู่โรงธรรม''' สร้างขึ้นในสมัย[[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา|กรุงศรีอยุธยา]]เป็นราชธานี ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพระนครศรีอยุธยา ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเมือง บริเวณกลุ่มวัดในเขตอโยธยา เดินทางโดยรถยนต์ตามเส้นทางถนนจากวงเวียนเจดีย์วัดสามปลื้มไปทางทิศเหนือ
 
== ประวัติ ==
วัดประดู่ทรงธรรมในปัจจุบันเกิดจากการรวมพื้นที่วัดโบราณ2วัดคือ '''วัดประดู่''' และ '''วัดโรงทาน (วัดโรงธรรม)''' สำหรับวัดประดู่ ถูกกล่าวถึงในพระราชพงศาวดาร ในคราวที่พระภิกษุสงฆ์ของวัดประดู่แปด8รูป ได้ช่วยเหลือ[[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา]] ให้หลบหนีจากการก่อกบฏของพวก[[ชาวญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]ที่หมายปลงพระชนม์ชีพ นอกจากนี้ยังมี การกล่าวถึงและในคราวที่พระเจ้าอยู่หัวอุทุมพรบันทึกของเอนเยลเบิร์ต หรือที่เรียกกันแกมป์เฟอร์ (Engelbert Kaempfer) ได้กล่าวว่าเจ้าพระยาพระคลัง "ขุนหลวงหาวัด"(เจ้าพระยาโกษาธิบดี ผนวชและพำนักที่วัดประดู่ทรงธรรมนี้เป็นวันสุดท้าย(เหล็ก)) ก้อนถูกกวาดต้อนไปอังวะภายหลังได้ทำการเสียกรุงศรีอยุธยาบูรณะวัดหนึ่งซึ่งในปีบันทึกของหมอแกมป์เฟอร์เรียกว่า '''วัดพระยาพระคลัง''' ซึ่งส่วนใหญ่เชื่อว่าคือ[[พ.ศ. 2310วัดสมณโกฎฐาราม]]กับ[[วัดกุฎีดาว]] แต่จากการเทียบแผนที่ของหมอแกมป์เฟอร์ พบว่าตำแหน่งวัดพระยาพระคลังตรงกับวัดประดู่และวัดโรงทาน (วัดโรงธรรม)
 
นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงในคราวที่[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]] หรือ "ขุนหลวงหาวัด" ผนวชและพำนักที่วัดประดู่นี้เป็นวันสุดท้าย ก่อนถูกกวาดต้อนไปอังวะภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาในปี [[พ.ศ. 2310]]
 
เมื่อแรกรวมวัดเข้ากันในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]นั้นเรียกชื่อวัดว่าวัดประดู่โรงธรรม ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อเป็นวัดประดู่ทรงธรรมจนถึงปัจจุบัน อนึ่ง พื้นที่ของวัดประดู่ทรงธรรมในปัจจุบันคือพื้นที่ของวัดโรงทาน (วัดโรงธรรม) ส่วนวัดประดู่ที่เป็นที่ผนวชของพระเจ้าอุทุมพรนั้น ตั้งอยู่เหนือวัดโรงทาน(วัดโรงธรรม)โดยมีคลองวัดประดู่กั้นระหว่างทั้ง2วัด ปัจจุบันวัดประดู่ยังเหลือซากวัดร้างอยู่ ส่วนคลองวัดประดู่ถูกถมบางส่วน
 
== ความสำคัญ ==