ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
บรรทัด 100:
เมื่อปี [[พ.ศ. 2533]] คณะรัฐมนตรีมีมติให้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ขั้นโดยให้กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงการและรับผิดชอบงาน ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2534]] ได้รับอนุมัติให้จัดโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระชนมพรรษา 5 รอบ กำหนดกรอบงบประมาณโครงการ 650 ล้านบาทและเริ่มก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ในปี [[พ.ศ. 2537]] จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2538]] ได้มีพระราชกำหนดจัดตั้งองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (อพวช.) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2538]] โดยพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ เปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการ ในวันที่ [[8 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2543]] <ref>[http://www.most.go.th/main/index.php/about-us/structural-units/state-enterprise/nsm.html กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]</ref>
 
ต่อมาในปี 2547 อพวช. เปิดให้บริการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน มีพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการประมาณ 3000 ตารางเมตร จัดแสดงนิทรรศการที่เกี่ยวกับกำเนิดโลกและสิ่งมีชีวิต การจำแนกประเภทสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ รวมถึงมีการเก็บรักษาตัวอย่างทางธรรมชาติวิทยา
ปัจจุบันได้มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งที่จัตุรัสวิทยาศาสตร์ มีพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมต่างๆ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประมาณ 3,000 ตารางเมตร ตั้งอยู่ที่ชั้น 4-5 อาคาร [[จัตุรัสจามจุรี]] (อาคารศูนย์การค้าของ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]) ซึ่งได้เปิดให้เข้าชมตั้งแต่ [[เดือนมีนาคม]] [[พ.ศ. 2554]] ที่ผ่านมา
 
ปัจจุบันปี 2554 ได้มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งที่จัตุรัสวิทยาศาสตร์ มีพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมต่างๆ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประมาณ 3,000 ตารางเมตร ตั้งอยู่ที่ชั้น 4-5 อาคาร [[จัตุรัสจามจุรี]] (อาคารศูนย์การค้าของ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]) ซึ่งได้เปิดให้เข้าชมตั้งแต่ [[เดือนมีนาคม]] [[พ.ศ. 2554]] ที่ผ่านมา
 
ปี 2557 เปิดให้บริการพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ในอาคารที่มีพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการรวม 9.300 ตารางเมตร เนื้อหาหลักแสดงถึงวิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสารและการคำนวณ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์ และพัฒนาต่อมาเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศหลากหลายรูปแบบในปัจจุบัน
 
ปัจจุบัน อพวช. อยู่ระหว่างการพัฒนาพิพิธภัณฑ์เพิ่มขึ้นอีก 1 แห่ง คือ พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า ซึ่งจะนำเสนอนิทรรศการที่แสดงถึงวิวัฒนาการของโลก และสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ระบบนิเวศวิทยาของภูมิภาคต่าง ๆ แสดงถึงความหลากหลายทางชีวภาพทั้งในภาพรวมของทั้งโลก และของประเทศไทย และมีส่วนจัดแสดงที่นำเสนอหลักการทรงงานของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ที่แสดงให้เห็นถึงการที่ทรงนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆให้กับประชาชน โดยมีกำหนดจะเปิดให้บริการได้ภายในปี 2562
 
== การจัดแสดง ==
เส้น 110 ⟶ 116:
** ชั้นที่ 5. ร่างกายของเรา การคมนาคม คุณภาพชีวิต วิทยาศาสตร์ในบ้าน และอนาคต
** ชั้นที่ 6. เทคโนโลยีภูมิปัญญาไทย
* อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา มีเนื้อที่ 3,000 ตร.ม. ส่วนที่จัดแสดงอยู่บนชั้น 1 ของอาคาร มีเนื้อหาหลักคือ ความหลากหลายทางชีวภาพการกำเนิดและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต การแบ่งประเภท เป็นอาณาจักรของแบคทีเรีย เห็ดรา พืช วิวัฒนาการของชีวิต ฯลฯ นอกจากนั้นยังมีห้องนักธรรมชาติพื้นที่เก็บตัวอย่างทางธรรมชาติวิทยา ที่หลากหลาย
* อาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีและสารสนเทศ มีเนื้อที่ 9,300 ตร.ม. อยู่ระหว่างการพัฒนาและติดตั้งนิทรรศการหลัก มีเนื้อหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสาร การคำนวณ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน กำหนดเปิดให้บริการประมาณปลายปี 2554
 
<gallery>