ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 223.24.188.8 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Pongsak ksm
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 13:
|image1 = [[ไฟล์:sukit_n.jpg|150px]]
|party1 = พรรคสหภูมิ
|seats1 = 4544
|last_election1= ''ไม่ได้ลงเลือกตั้ง''
|seat_change1 = {{increase}} 44
|image2 = [[ไฟล์:Kuang.jpg|150px]]
|leader2 = พลพันตรี [[ควง อภัยวงศ์]]
|leaders_seat2 = ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
|party2 = พรรคประชาธิปัตย์
บรรทัด 26:
|before_election = [[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]
|before_party = พรรคเสรีมนังคศิลา
|after_election = [[พลเอกโทถนอม กิตติขจร]]
|after_party = พรรคชาติสังคม
}}
'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500''' นับเป็น '''[[การเลือกตั้งในประเทศไทย|การเลือกตั้งทั่วไป]]ครั้งที่ 10 ของประเทศไทย''' สืบเนื่องมาจากการที่ จอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ได้ทำการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500|รัฐประหารรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ขึ้นเมื่อวันที่ [[16 กันยายน]] ปีเดียวกันนั้น และได้แต่งตั้งให้ นาย[[พจน์ สารสิน]] ขึ้นดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]]
 
โดยการเลือกตั้งครั้งนี้ เป็นไปตามบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 ซึ่งเป็น[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย|รัฐธรรมนูญ]]ที่ใช้กันในเวลานั้น โดยกำหนดให้มีขึ้นในวันที่ [[15 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2500]] ซึ่งผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า [[พรรคสหภูมิ]] เป็นพรรคที่ได้รับคะแนนมากที่สุด โดยได้จำนวน[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] (ส.ส.) จำนวน 15944 ที่นั่ง จากจำนวนเสียงทั้งหมดในสภาผู้แทนราษฎร 160 ที่นั่ง<ref>[http://www.democrat.or.th/th/about/history/ ประวัติพรรคประชาธิปัตย์]</ref> ขณะที่[[พรรคประชาธิปัตย์]] ได้รับเลือกมาเป็นลำดับที่สอง ได้จำนวน 39 ที่นั่ง แต่ในพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]] ทั้ง[[จังหวัดพระนคร]]และ[[จังหวัดธนบุรี]] อันเป็น[[เมืองหลวง]] ทางพรรคได้ใช้ผู้สมัครชุดเดิมจาก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500|การเลือกตั้งเมื่อครั้งที่แล้ว]] ซึ่งได้เพียง 2 ที่นั่ง ครั้งนี้ได้มากถึง 11 ที่นั่ง นับว่ามากที่สุด และทาง[[พรรคชาติสังคม]] ที่ตั้งขึ้นมาของจอมพล สฤษดิ์ หัวหน้าคณะปฏิวัติ ก็ได้รับเลือกตั้งมาด้วยจำนวน 9 ที่นั่ง<ref>หน้า 292-296, ''นายควง อภัยวงศ์ กับ พรรคประชาธิปัตย์'' โดย ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม ([[พ.ศ. 2524]]) สำนักพิมพ์เรืองศิลป์</ref> โดยภาพรวมการเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ออกมาใช้สิทธิคิดเป็น[[ร้อยละ]] 30 ซึ่งถือว่าน้อยมาก<ref>พรรคจอมพล สฤษดิ์ ชนะเสียงข้างมากในสภา ''มีผู้ใช้สิทธิ์ออกเสียงเพียง 30 % ในการเลือกตั้ง'' หน้า 73, ''กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554'' โดย [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]] ISBN 978-974-228-070-3 </ref> แต่จอมพลสฤษดิ์ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกและเป็นหัวหน้าพรรคชาติสังคมมีความกังวลว่าพรรคสหภูมิที่ตนเองให้การสนับสนุนจะไม่มีความเสถียรพอจึงตัดสินใจยุบพรรคสหภูมิและพรรคเสรีมนังคศิลาพร้อมกับดูด ส.ส. ประเภท 1 ซึ่งไม่สังกัดพรรคและ ส.ส. ประเภท 2 ซึ่งมาจากการแต่งตั้งเข้ามาอยู่ในพรรคชาติสังคม
 
การจัดตั้งรัฐบาล จอมพล สฤษดิ์ ได้แนะนำให้ พลเอกโท [[ถนอม กิตติขจร]] รองหัวหน้าพรรคพรรคชาติสังคม ร่วมกับ[[พรรคการเมือง]]อื่น ๆ จัดตั้งรัฐบาลขึ้นมา โดย พลเอกโท ถนอม กิตติขจร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เป็นครั้งแรก ในวันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2501]] โดยมีบุคคลสำคัญบางคนที่ได้รับตำแหน่งในรัฐบาลชุดนี้ ได้แก่ พลเอกโท [[ประภาส จารุเสถียร]] เป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และ[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ <ref>พลโท ถนอม กิตติขจร ได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี หน้า 73, ''กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554'' โดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ISBN 978-974-228-070-3 </ref>
 
ขณะที่ทางพรรคประชาธิปัตย์ ได้ทำหน้าที่เป็น[[ฝ่ายค้าน]] ต่อมาในวันที่ [[20 ตุลาคม]] ปีเดียวกัน จอมพล สฤษดิ์ ก็ได้ทำ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501|การรัฐประหารอีกครั้ง]] โดยประกาศให้ยกเลิกพรรคการเมืองทั้งหมด, ยกเลิกรัฐธรรมนูญ และยกเลิก[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]] พร้อมกับขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน <ref>สฤษดิ์ "รัฐประหาร" ยึดอำนาจเบ็ดเสร็จ ยกเลิกพรรคการเมือง คุมสื่อ หน้า 77 ''กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554'' โดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ISBN 978-974-228-070-3 </ref>