ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนบัตรไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะววรค
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
! แบบที่ !! ใช้ครั้งแรก !! ชนิดธนบัตรที่มี !! หมายเหตุ
|-
| 1||7 ก.ย.กันยายน พ.ศ. 2445||7 ชนิดราคา 1, 5, 10, 20, 50, 100, 1,000 บาท||เป็นธนบัตรที่พิมพ์ด้านหน้าเพียงด้านเดียว พิมพ์โดย [[บริษัทโทมัสเดอลารู|บริษัทโทมัส เดอ ลา รู จำกัด (THOMAS DE LA RUE & COMPANY LIMITED)]]
|-
| 2||21 ก.ค.กรกฎาคม พ.ศ. 2468||6 ชนิดราคา 1, 5, 10, 20, 100, 1,000 บาท||เริ่มมีการพิมพ์เส้นนูน พิมพ์โดย บริษัทโทมัสเดอลารู
|-
| 3||22 มิ.ย.มิถุนายน พ.ศ. 2477||4 ชนิดราคา 1, 5, 10, 20 บาท||มีพระบรมฉายาลักษณ์ของรัชกาลที่ 7 พิมพ์โดย บริษัทโทมัสเดอลารู
|-
| 4||5 ธ.ค.ธันวาคม พ.ศ. 2481||6 ชนิดราคา 1, 5, 10, 20, 100, 1,000 บาท||ได้เริ่มใช้คำว่า "รัฐบาลไทย" แทนคำว่า "รัฐบาลสยาม" พิมพ์โดย บริษัทโทมัสเดอลารู
|-
| 5||8 ธ.ค.ธันวาคม พ.ศ. 2484||7 ชนิดราคา 50 สตางค์ และ 1, 5, 10, 20, 100, 1,000 บาท||พิมพ์โดยบริษัท Mitsui Butsan จากประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากอยู่ระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา จึงไม่สามารถสั่งพิมพ์จากบริษัทโทมัสเดอลารูได้
|-
| 6||21 ก.พ.กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488||2 ชนิดราคา 20, 100 บาท||พิมพ์โดย [[กรมแผนที่ทหารบก]] และ [[กรมอุทกศาสตร์ทหารเรือ]] โดยใช้วัตถุดิบเท่าที่หาได้ในประเทศ เนื่องจากสงครามทวีความรุนแรงขึ้น ประเทศญี่ปุ่นไม่สามารถขนส่งธนบัตรมาได้ ธนบัตรชุดนี้จึงมีคุณภาพต่ำและมีการปลอมแปลงกันมาก แต่ก็สามารถช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนธนบัตรได้ตลอดช่วงสงคราม
|-
| 7||21 ก.กุมภาพันธ์ .ศ. 2488||4 ชนิดราคา 1, 5, 10, 50 บาท||พิมพ์ในประเทศไทย โดยโรงพิมพ์เอกชนที่มีผลงานอยู่ในระดับมาตรฐานขณะนั้น โดยการแยกพิมพ์ตัวธนบัตร หมวดหมายเลข และลายเซ็นคนละแห่งกัน ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปควบคุมดูแลการพิมพ์อย่างใกล้ชิด แต่เนื่องจากในช่วงปลายสงครามซึ่งกระดาษและหมึกพิมพ์มีอยู่อย่างจำกัด คุณภาพและสีของธนบัตรจึงไม่ดีเท่าที่ควร และจากขนาดธนบัตรที่เล็กกว่าธนบัตรทั่ว ๆ ไป ในขณะนั้น บางครั้งประชาชนจึงเรียก "แบงก์ขนมโก๋"
|-
| 8||14 พ.ย.พฤศจิกายน พ.ศ. 2489||5 ชนิดราคา 1, 5, 10, 20, 100 บาท||พิมพ์โดย บริษัท The Tudor Press จากสหรัฐอเมริกา เนื่องจากบริษัทโทมัสเดอลารูได้รับความเสียหายจากสงคราม ไม่มีเส้นนูนและลายน้ำ ในสมัยนั้นมีการปลอมแปลงธนบัตรกันมาก
|-
| 9||26 ม.ค.มกราคม พ.ศ. 2491||6 ชนิดราคา 50 สตางค์ และ 1, 5, 10, 20, 100 บาท||พิมพ์โดย บริษัทโทมัสเดอลารู
|-
|10||16 พ.ค.พฤษภาคม พ.ศ. 2510||ชนิดราคาเดียว 100 บาท||มีเส้นนูน มีหลายสี มีลายไทย เนื่องจากมีการปลอมแบบ 9 ราคา 100 บาท อย่างมากมาย
|-
|11||18 มิ.ย.มิถุนายน พ.ศ. 2512||5 ชนิดราคา 5, 10, 20, 100, 500 บาท||พิมพ์ในประเทศไทย โดยโรงพิมพ์ธนบัตร ที่จัดตั้งขึ้นโดยธนาคารแห่งประเทศไทยในปี [[พ.ศ. 2512]]
|-
|12||6 เม.ย.เมษายน พ.ศ. 2521||3 ชนิดราคา 10, 20, 100 บาท||ด้านหลังมีภาพพระบรมราชานุสาวรีย์ของพระมหากษัตริย์ที่เป็นมหาราช
|-
|13||30 ส.ค.สิงหาคม พ.ศ. 2528||2 ชนิดราคา 50, 500 บาท||เพื่อร่วมเฉลิมฉลองงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี [[พ.ศ. 2525]] ธนบัตร50บาท ภาพประธานด้านหน้า พระฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเครื่องบรมขัตติยราชภูษิตตาภรณ์ ฉลองพระองค์ครุย
|-
|14||10 ส.ค.สิงหาคม พ.ศ. 2535||3 ชนิดราคา 100, 500, 1000 บาท||ออกฉบับละ 1000 บาท เพื่อสนองต่อการใช้เงินจำนวนมาก ภาพประธานด้านหลงของชนิดราคาพันบาท มีพระฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
|-
|15||1 ม.ค.มกราคม พ.ศ. 2542||5 ชนิดราคา 20, 50, 100, 500, 1,000 บาท||เป็นธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบันเป็นส่วนใหญ๋ใหญ่ โดยในช่วงท้ายๆท้าย ๆ ของชุดที่ 15 ธนบัตร 50 บาทได้เปลี่ยนรูปแบบธนบัตรจากโพลิเมอร์พอลิเมอร์เป็นกระดาษธรรมดาเพื่อลดต้นทุนและป้องกันไม่ให้วัสดุที่ผลิตธนบัตรมีค่ากว่าราคาธนบัตร และธนบัตร1000 บาทได้เพิ่มแถบสีเงิน เพื่อป้องกันการปลอมแปลงและไม่ได้พิมพ์ธนบัตร 10 บาท
|-
|16||18 ม.ค.มกราคม พ.ศ. 2555||5 ชนิดราคา 20, 50, 100, 500, 1,000 บาท||เป็นธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน ด้านหลังมีพระบรมราชานุสาวรีย์ของพระมหากษัตริย์ที่เป็นมหาราช
|-
|17||6 เม.ย.เมษายน และ 28 ก.ค.กรกฎาคม พ.ศ. 2561||5 ชนิดราคา 20, 50, 100, 500, 1,000 บาท||เป็นธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบันด้านหลังมีพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระมหากษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์
|}