ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จรวด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 258:
รูปร่างของหัวฉีดมีความสำคัญ ขอให้พิจารณาดูลูกโป่งที่ขับเคลื่อนโดยอากาศที่พุ่งออกมาจากหัวฉีดเรียวเล็ก ในกรณีเช่นนี้การผสมผสานกันของความกดอากาศและความเสียดทานหนืด (viscous friction) เป็นเช่นเดียวกับที่หัวฉีดไม่ได้ผลักดันลูกโป่ง แต่''ถูกดึงดูด''เข้ามาหาเอง <ref>{{cite book|last1=Warren|first1=J. W.|title=Understanding force : an account of some aspects of teaching the idea of force in school, college and university courses in engineering, mathematics and science|date=1979|publisher=Murray|location=London|isbn=9780719535642|page=28}}</ref> การใช้หัวฉีดแบบมีปลายปากท่อเรียวเข้าหากัน/บานออก จะทำให้เกิดแรงมากขึ้นเนื่องจากไอเสียยังคงกดดันหัวฉีดเอาไว้ขณะที่มันพุ่งขยายตัวออกไปสู่บรรยากาศภายนอก, โดยคร่าว ๆ ก็ประมาณสองเท่าของแรงโดยรวม ถ้าก๊าซเชื้อเพลิงจรวดถูกป้อนเข้ามาในห้องเผาไหม้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นความดันเหล่านี้ก็สามารถจะรักษาให้คงอยู่ได้ตราบเท่าที่เชื้อเพลิงของจรวดยังคงมีอยู่ โปรดทราบว่าในกรณีของเครื่องยนต์จรวดเชื้อเพลิงเหลว, ปั๊มที่คอยขับเคลื่อนเชื้อเพลิงจรวดให้ไหลเข้าไปในห้องเผาไหม้จะต้องคอยรักษาความดันไว้ให้มีขนาดที่มากกว่าความดันภายในห้องเผาไหม้ ซึ่งโดยปกติจะอยู่ในระดับที่ 100 เท่าของความดันบรรยากาศ <ref name="RPE7"/>
 
ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น คือ, ความดันเหล่านี้บนจรวดยังออกแรงกระทำต่อไอเสียในทิศทางตรงกันข้ามและเร่งไอเสียนี้ให้มีความเร็วที่สูงมาก ๆ (ตาม[[กฎข้อที่ 3 ของนิวตัน]]) <ref name="RPE7"/> จากหลักการของกฎ[[การอนุรักษ์โมเมนตัม]]ความเร็วของไอเสียของจรวดจะกำหนดจำนวนของโมเมนตัมที่เพิ่มขึ้นสำหรับปริมาณของเชื้อเพลิงจรวดที่กำหนดให้
 
=== แรงที่เกิดขึ้นกับจรวด ===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/จรวด"