ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าชายนารูฮิโกะ ฮิงาชิกูนิโนะมิยะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ฮิงะชิกุนิ" → "ฮิงาชิกุนิ" +แทนที่ "นะรุฮิโกะ" → "นารูฮิโกะ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
|realm =
|name = เจ้าฮิงะงาชิกุนิ
|image =HIH Prince Higashikuni Naruhiko.jpg
|alt =
บรรทัด 13:
|regent3 =[[จักรพรรดิโชวะ]]
|spouse =
|issue = [[โมะริฮิโระ ฮิงะงาชิกุนิ]] <br> โมะโระมะซะ ฮิงะงาชิกุนิ <br>อะกิสึเนะ ฮิงะงาชิกุนิ<br>โทะชิฮิโกะ ฮิงะงาชิกุนิ
|house = ราชสกุลฮิงะงาชิกุนิ
|father =[[เจ้าชายอะซะฮิโกะ เจ้าคุนิ]]
|birth_date = 3 ธันวาคม ค.ศ. 1887
บรรทัด 25:
|signature =HigashikuniN kao.png
|}}
พลเอก '''เจ้าชายนะรุนารูฮิโกะ เจ้าฮิงะงาชิกุนิ''' ({{ญี่ปุ่น|東久邇宮稔彦王|ฮิงะชิโนะมิยะงาชิโนะมิยะ นะรุนารูฮิโกะ-โอ}}) ทรงเป็นพระอนุวงศ์ญี่ปุ่นและพลเอกแห่ง[[กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น]] และทรงได้รับการโปรดเกล้าให้เป็นนายกรัฐมนตรีเพียงหนึ่งเดือนก่อนหน้าที่ญี่ปุ่นจะ[[การยอมจำนนของญี่ปุ่น|ยอมจำนนในสงครามโลกครั้งที่สอง]] และทรงลาออกหลังญี่ปุ่นยอมจำนนได้เจ็ดวัน นอกจากนี้ยังทรงเป็นพระสสุระ(พ่อสามี)ใน[[ชิเงะโกะ ฮิงะงาชิกุนิ|เจ้าหญิงชิเงะโกะ เจ้าเทะรุ]] พระราชธิดาองค์ใหญ่ในจักรพรรดิโชวะ
 
เจ้าฮิงะงาชิกุนิถือเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นที่เป็นสมาชิกพระราชวงศ์ และยังเป็นนายทหารคนสุดท้ายจากกองทัพที่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เจ้าฮิงะงาชิกุนิยังทรงเป็นผู้ก่อตั้ง[[สถาบันเทคโนโลยีชิบะ]]
 
== พระประวัติ ==
เจ้าชายนะรุนารูฮิโกะประสูติใน[[นครเคียวโตะ]] เป็นโอรสของ[[เจ้าชายอะซะฮิโกะ เจ้าคุนิ]] ที่เกิดกับท่านหญิงเทะระโอะ อุตะโกะ นางข้าหลวงในราชสำนัก เจ้าคุนิพระบิดาของพระองค์นั้นเป็นโอรสของเจ้าชายคุนิอิเอะ ซึ่งเป็นเจ้าฟุชิมิองค์ที่ 20 ซึ่งเป็นหนึ่งในตำแหน่งเจ้าสืบตระกูลที่เก่าแก่ที่สุด เจ้าฮิงะงาชิกุนิเป็นพี่น้องต่างมารดากับ[[เจ้าชายคุนิโยะชิ เจ้าคุนิ]] พระบิดาใน[[สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง]]ผู้เป็นพระอัครมเหสีใน[[จักรพรรดิโชวะ]]และพระชนนีของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ]]
 
เจ้าชายนะรุนารูฮิโกะได้รับพระราชทานราชทินนามจากจักรพรรดิโชวะเป็น '''เจ้าฮิงะงาชิกุนิ''' (東久邇宮) เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1906
 
=== ครอบครัว ===
เจ้าฮิงะงาชิกุนิเสกสมรสกับ[[เจ้าหญิงโทะชิโกะ เจ้ายะซุ]] พระราชธิดาองค์ที่ 9 ในจักรพรรดิเมจิเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1915 มีพระโอรสด้วยกัน 4 พระองค์คือ:
#[[โมะริฮิโระโมริฮิโระ ฮิงะงาชิกุนิ|เจ้าชายโมะริฮิโระโมริฮิโระ]] (盛厚王) (6 พฤษภาคม 1916 – 1 กุมภาพันธ์ 1969); เสกสมรสกับ[[ชิเงะโกะ ฮิงะงาชิกุนิ|เจ้าหญิงชิเงะโกะ เจ้าเทะรุ]] พระราชธิดาองค์ใหญ่ในจักรพรรดิโชวะ
#เจ้าชายมะโระมะซะมาโรมาซะ (師正王) (ค.ศ. 1917 – 1 กันยายน 1923); สิ้นพระชนม์ใน[[แผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโต พ.ศ. 2466|เหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในคันโต]]
#เจ้าชายอะอากิสึเนะ (彰常王) (13 พฤษภาคม 1920 – 30 สิงหาคม 2006); ลาออกจากฐานันดรในปี 1940 และได้บรรดาศักดิ์เป็น มาร์ควิส อะวะตะ อะกิสึเนะ
#เจ้าชายโทะโทชิฮิโกะ (俊彦王) (24 มีนาคม 1929 – 15 เมษายน 2015); ลาออกจากฐานันดรในปี 1943 และได้บรรดาศักดิ์เป็น เคานต์ ทะมะระ โทะชิฮิโกะ
 
== หน้าที่การงาน ==
=== นายกรัฐมนตรี ===
หลังจากที่กองทัพญี่ปุ่นเป็นฝ่ายเพลี่ยงพล้ำในศึกต่างๆและ[[การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ|การทิ้งระเบิดปรมาณู]] พลเอกเจ้าฮิงะงาชิกุนิก็เริ่มเป็นฝ่ายต่อต้านนโยบายสู้ตายของกองทัพ เขาพยายามเรียกร้องให้รัฐบาลยอมรับ[[ปฏิญญาพ็อทซ์ดัม]]ของฝ่ายสัมพันธมิตร ได้รับโปรดเกล้าจากจักรพรรดิโชวะให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1945 แทนที่[[คันตะโร ซุซุกิ|พลเรือเอก คันตะโร ซุซุกิ]] โดยรัฐบาลฮิงะงาชิกุนิมีภารกิจอยู่สองประการคือ ประการแรกคือกองทัพทั้งหมดยุติความเป็นศัตรูและถอนกำลังทหาร และประการที่สองคือ ทำให้ประชาชนชาวญี่ปุ่นวางใจว่าสถาบันจักรพรรดิจะได้รับความคุ้มครองและอยู่รอดปลอดภัย อย่างไรก็ตาม เจ้าฮิงะงาชิกุนิลาออกจากตำแหน่งหลังยอมจำนนได้เจ็ดวันเนื่องจากข้อพิพาทเรื่องกองทัพสหรัฐจะให้ญี่ปุ่นยกเลิกกฎหมายรักษาความสงบ ค.ศ. 1925
 
=== หลังการลาออกฯ ===
หลังจากที่ทรงลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต้นปี ค.ศ. 1946 ได้ทรงให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ ''Yomiuri-Hōchi'' และ ''[[The New York Times]]'' ว่า สมาชิกพระราชวงศ์ต่างยินยอมที่จะให้[[จักรพรรดิโชวะ|สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ]]สละราชสมบัติ โดยที่[[เจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ|เจ้าทะกะมะสึ]]จะทรงเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินไปจนกว่ามกุฎราชกุมารอะกิฮิโตะจะเจริญพระชันษา อย่างไรก็ตาม แนวคิดนี้ถูกคัดค้านจากนายกรัฐมนตรี[[จิจูโร ชิเดะฮะระ]]และรัฐมนตรีกระทรวงวัง
 
ในค.ศ. 1946 เจ้าฮิงะงาชิกุนิได้ทูลขอลาออกจากพระราชวงศ์ไปเป็นสามัญชนแต่องค์จักรพรรดิไม่ทรงยินยอม อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกาได้ล้มเลิกระบอบ[[คะโซะกุ]]ของญี่ปุ่น ทำให้สมาชิกราชสกุลต่างๆรวมถึงเจ้าฮิงะงาชิกุนิถูกถอดยศและฐานันดรรวมถึงถูกริบทรัพย์บางส่วน
 
อดีตเจ้าฮิงะงาชิกุนิถึงแก่อนิจกรรมด้วย[[ภาวะหัวใจวาย|อาการหัวใจล้มเหลว]]เมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1990 ในกรุงโตเกียว ขณะมีพระชันษา 102 ปี 48 วัน
 
== ฐานันดรศักดิ์ ==
* '''ค.ศ. 1887 - 1906''' : เจ้าชายนะรุนารูฮิโกะ
* '''ค.ศ. 1906 - 1947''' : เจ้าชายนะรุนารูฮิโกะ เจ้าฮิงะงาชิกุนิ
* '''ค.ศ. 1947 - 1990''' : นายนะรุนารูฮิโกะ ฮิงะงาชิกุนิ
 
{{นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น}}