ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัตสึกาตะ มาซาโยชิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "มะสึกะตะ" → "มัตสึกาตะ" +แทนที่ "มะซะโยะชิ" → "มาซาโยชิ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{Infobox Officeholder
|name = มะสึกะตะมัตสึกาตะ มะซะโยะชิมาซาโยชิ
|native_name = {{small|松方 正義}}
|image = 4 MatsukataM.jpg
บรรทัด 7:
|term_start = 18 กันยายน 1896
|term_end = 12 มกราคม 1898
|predecessor = [[คุโระดะโรดะ คิโยะตะกะคิโยตากะ]] {{small|(รักษาการ)}}
|successor = [[อิโต ฮิโระบุมิ]]
|monarch1 = [[จักรพรรดิเมจิ]]
|term_start1 = 6 พฤษภาคม 1891
|term_end1 = 8 สิงหาคม 1892
|predecessor1 = [[ยะมะงะตะยามางาตะ อะอาริโตะโมะโตโมะ]]
|successor1 = [[อิโต ฮิโระบุมิโรบูมิ]]
|birth_date = {{birth date|1835|2|25|df=y}}
|birth_place = [[คะโงะชิมะ]], [[แคว้นซะสึมะ]] {{small|(now [[Japan]])}}
บรรทัด 21:
}}
{{ชื่อญี่ปุ่น}}
เจ้า '''มะสึกะตะมัตสึกาตะ มะซะโยะชิมาซาโยชิ''' ({{ญี่ปุ่น|松方 正義}}) เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวญี่ปุ่น ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 4 และเป็นหนึ่งใน[[เก็นโร|บิดาผู้สร้างชาติของญี่ปุ่น]]
 
เกิดในครอบครัว[[ซะมุไร]]ในเมืองคะโงะชิมะ [[แคว้นซะสึมะซัตสึมะ]] เมื่ออายุได้ 13 ปีก็เข้าศึกษาในโรงเรียนขงจื้อ ''โซะจิกัง'' และได้รับการบ่มเพาะความจงรักภักดีต่อองค์จักรพรรดิ และเริ่มเข้ารับราชการในแคว้นซะสึมะ จนกระทั่งใน ค.ศ. 1866 เขาก็ถูกส่งไปยัง[[นะงะซะกินางาซากิ]]เพื่อศึกษาวิชาคณิตศาสตร์และศาสตร์ตะวันตก มะสึกะมัตสึกาตะได้รับการนับถือจอย่างสูงจาก[[โอกุกูโบะ โทะโทชิมิชิจิ]] และ [[ไซโง ทะกะโมะริทากาโมริ]] ซึ่งใช้งานเขาเป็นผู้ประสานงานระหว่างนครหลวงเคียวโตะกับรัฐบาลแคว้นในคะโงะชิมะ
 
เมื่อทราบว่าสงครามระหว่างแคว้นซะสึมะกับฝ่ายรัฐบาลโชกุนในโตเกียวกำลังจะปะทุ มะสึตะกะก็ซื้อเรือที่พอจะหาได้ในนะงะซะกิเพื่อเตรียมรับมือกับสงคราม เรือลำนี้ถูกตั้งชื่อว่า ''คะซุงะ'' อย่างไรก็ตาม เหล่าผู้นำแคว้นต่างเชื่อว่าเป็นเรือขนส่งที่ดีที่สุด ดังนั้นมะสึตะกะจึงยอมยกเรือลำนี้ให้แคว้นไป หลังจากนั้นไม่กี่เดือน คะซุงะก็ถูกประจำการเป็นเรือปืนและเข้าต่อสู้กับฝ่ายรัฐบาลโชกุนใน[[สงครามโบะชิง]] หลังจาก[[การฟื้นฟูเมจิ|การฟื้นฟูพระราชอำนาจ]]และการล่มสลายของรัฐบาลโชกุน เขาก็อยู่ช่วยว่าการความเรียบร้อยในนะงะซะกิ และในปี ค.ศ. 1868 เขาก็ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดฮิตะ (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ[[จังหวัดโออิตะ]]) ในขณะที่โอกุโบะ สหายของเขาก็ได้เป็นใหญ่เป็นโตในรัฐบาลใหม่ที่ตำแหน่งรัฐมนตรีมหาดไทย
 
ในปี ค.ศ. 1871 มะสึกะมัตสึกาตะย้ายมาที่โตเกียว และทำงานด้านการร่างกฎหมายและการปฏิรูปภาษีที่ดิน จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1880 เขาก็ได้เป็นรัฐมนตรีมาตุภูมิ สองปีต่อมาก็ได้เป็นรัฐมนตรีคลัง และในตำแหน่งนี้เองที่เขาได้จัดตั้ง[[ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่น|ธนาคารแห่งญี่ปุ่น]]ขึ้น ต่อมาในปี ค.ศ. 1891 เขาก็ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อจากจอมพล[[ยะมะงะตะ อะริโตะโมะ]]
 
==อ้างอิง==