ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาฬมรณะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 6:
 
 
'''แบล็กเดท''' ({{lang-en|Black Death}}) หรือ '''กาฬมรณะ''' เป็น[[โรคระบาดทั่ว]]ครั้งที่ก่อความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตประเมินไว้ราว 75 ถึง 100 ล้านคน และทวีความรุนแรงที่สุดในทวีปยุโรประหว่างปี 1348–50<ref name="ABC/Reuters">{{cite news |url=http://www.abc.net.au/science/articles/2008/01/29/2149185.htm |title=Black death 'discriminated' between victims (ABC News in Science) |publisher=Abc.net.au |author=ABC/Reuters |date=29 January 2008 |accessdate=2008-11-03}}</ref><ref name="Health. De-coding the Black Death">{{cite news |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/health/1576875.stm |title=Health. De-coding the Black Death |publisher=News.bbc.co.uk |date=3 October 2001 |accessdate=2008-11-03}}</ref><ref name="Black Death's Gene Code Cracked">{{cite news |url=http://www.wired.com/medtech/health/news/2001/10/47288 |title=Black Death's Gene Code Cracked |publisher=Wired.com |date= 2001-10-03|accessdate=2008-11-03}}</ref> การวิเคราะห์ดีเอ็นเอของผู้เสียชีวิตในทวีปยุโรปตอนเหนือและใต้บ่งชี้ว่า จุลชีพก่อโรคอันเป็นสาเหตุของโรค คือ แบคทีเรีย ''[[Yersinia pestis]]'' ซึ่งอาจก่อ[[กาฬโรค]]ได้หลายแบบ<ref>{{cite journal |author=Haensch S, Bianucci R, Signoli M, ''et al.'' |title=Distinct clones of Yersinia pestis caused the black death |journal=PLoS Pathog. |volume=6 |issue=10 |pages=e1001134 |year=2010 |pmid=20949072 |pmc=2951374 |doi=10.1371/journal.ppat.1001134 |url=}}</ref><ref name='nature_bos'>{{cite journal|last=Bos|first=Kirsten I.|coauthors=Schuenemann, V. J., Golding, G. B., Burbano, H. A., Waglechner, N., Coombes, B. K., McPhee, J. B., DeWitte, S. N., Meyer, M., Schmedes, S., Wood, J, . Earn, D. J. D., Herring, A., Bauer, P., Poinar, H. N., Krause, J., |date=12 October 2011|title=A draft genome of Yersinia pestis from victims of the Black Death|journal=Nature|url=http://www.nature.com/nature/journal/vaop/ncurrent/full/nature10549.html|ref=harv|doi=10.1038/nature10549}}</ref>
 
คาดว่าแบล็กเดทเริ่มต้นในจีนหรือ[[เอเชียกลาง]]<ref>{{Cite web|url=http://www.bbc.co.uk/history/british/middle_ages/blackdisease_01.shtml|title=BBC – History – Black Death |publisher=bbc.co.uk |date=2011-02-17}}</ref> จากนั้นแพร่มาตาม[[เส้นทางสายไหม]]และถึง[[ไครเมีย]]ในปี 1346 และหมัดหนูตะวันออก (''Xenopsylla cheopis'') ซึ่งอาศัยอยู่ในหนูดำอันอยู่บนเรือพาณิชย์ทั่วไป น่าจะเป็นตัวนำโรคจากไครเมีย กาฬโรคได้แพร่ไปทั่วเมดิเตอร์เรเนียนและทวีปยุโรป ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตเป็น 30–60% ของประชากรทั้งทวีปยุโรป<ref>{{Cite book
| last = Austin Alchon
| first = Suzanne
บรรทัด 21:
 
== อาการ ==
บันทึกเกี่ยวกับโรคนี้จากช่วงเวลาของการระบาดนั้นมีความแตกต่างกันอย่างมากหรือไม่เช่นนั้นก็มีความคลาดเคลื่อน อาการที่มีบันทึกไว้บ่อยที่สุดคือการพบฝีมะม่วงที่ขาหนีบ คือคอ หรือรักแร้ ซึ่งฝีนี้มีหนองซึม เมื่อผ่าเปิดแล้วมีเลือดออก บอคคาจิโอได้บรรยายฝีนี้ไว้ดังนี้
 
ในชายในหญิงก็หามีความแตกต่างกันไม่ เขาทั้งหลายเมื่อแรกเริ่มแพ้ภัยจักมีก้อนเนื้อจำพวกหนึ่งขึ้นที่ขาหนีบหรือไม่ก็รักแร้ บางจำพวกโตใหญ่จนมีขนาดเท่าแอปเปิ้ลทั่วไปผลหนึ่ง จำพวกอื่นโตเพียงเท่าไข่ เมื่อขึ้นที่ตำแหน่งที่กล่าวไว้แล้วนี้เจ้าฝีอันตรายนี้จะแพร่ลามไปตำแหน่งอื่นในไม่ช้า แพร่ไปทุกทิศทาง เมื่อถึงตอนนี้โรคร้ายนี้เริ่มมีอาการเปลี่ยน ขึ้นเป็นจุดดำหรือจุดแดงเข้มที่แขนหรือต้นขาหรือที่อื่นของผู้ป่วยหลายคน บ้างขึ้นน้อยที่แต่มีขนาดใหญ่ บ้างขึ้นหลายที่แต่มีขนาดเล็ก
บรรทัด 34:
ในหนังสือประวัติศาสตร์เดนมาร์กโดย เจ.ไอ. พอนเทนนัส (J.I. Pontanus) ซึ่งพอนเทนนัสเขียนถึงโรคระบาดที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1348: "''Vulgo & ab effectu ''atram mortem'' vocatibant.''" (จากอาการทั่วไปของโรค มันจึงถูกเรียกว่าความตายสีดำ) <ref>Francis Aidan Gasquet, ''The Black Death of 1348 and 1349'', 2nd ed. (London, England: George Bell and Sons, 1908), [http://books.google.com/books?id=5wMAAAAAYAAJ&pg=PA7#v=onepage&q&f=false page 7.]</ref><ref>Johan Isaksson Pontanus, ''Rerum Danicarum Historia'' … (Amsterdam (Netherlands) : Johann Jansson, 1631), [http://books.google.com/books?id=HaExAQAAMAAJ&pg=PA476#v=onepage&q&f=false page 476.]</ref><ref>D'Irsay points out that the phrase "black death" dates back at least to Homer's ''Odyssey'', where Homer said that Scylla's mouth contained rows of teeth πλείοι μέλανος θανάτοιο (full of black death). Many Roman authors also used the phrase. The medieval French physician [[Gilles de Corbeil]] (ca. 1140 - (1200-1225) ) in his ''De signis et sinthomatibus egritudinum'' (On the signs and symptoms of diseases) referred to a pestilential fever (''febris pestilentialis'') as "''atra mors''" (black death). See: Stephen d'Irsay (May 1926) "Notes to the origin of the expression: atra mors, " ''Isis'', '''8''' (2) : 328-332.</ref> อย่างไรก็ดี กาสเกตสงสัยว่าพอนเทนนัสน่าจะหมายถึงกาฬโรคที่มีอาการต่อมน้ำเหลืองบวมและอักเสบ อย่างไรก็ตาม ชื่อแพร่กระจายผ่านทางกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวียนไปถึงเยอรมนี<ref>The German physician [[Justus Friedrich Karl Hecker|Justus Hecker]] (1795-1850) cited the phrase in Icelandic (''Svartur Daudi''), Danish (''den sorte Dod''), etc. See: J.F.C. Hecker, ''Der schwarze Tod im vierzehnten Jahrhundert'' [The Black Death in the Fourteenth Century] (Berlin, (Germany) : Friedr. Aug. Herbig, 1832), [http://books.google.com/books?id=LhoqAAAAYAAJ&pg=PA3#v=onepage&q&f=false page 3.]</ref> ในประเทศอังกฤษ คำนี้ไม่ปรากฏจนกระทั่ง ค.ศ. 1823 เมื่อเกิดโรคระบาดในสมัยกลางและมันถูกเรียกว่าแบล็กเดท<ref>The name "Black Death" first appeared in English in:
 
* "Mrs. Markham" (pen name of Elizabeth Penrose (née Cartwright) ), ''A History of England'' … (Edinburgh, Scotland: Archibald Constable, 1823). In the 1829 edition, the relevant text appeared on pages 249-250, where, about the English king Edward III, she wrote: "Edward's successes in France were interrupted during the next six years by a most terrible pestilence — so terrible as to be called the black death — which raged throughout Europe, and proved a greater scourge to the people than even the calamities of war." (For further information about this book and Mrs. Penrose, see: [[s:Penrose, Elizabeth (DNB00)|Wikisource]] and [http://www.oxforddnb.com/templates/article.jsp?articleid=21889&back= the Oxford Dictionary of National Biography]).
* See also: J. L. Bolton, "Looking for ''Yersinia pestis'': Scientists, Historians and the Black Death" in: Linda Clark and Carole Rawcliffe, ed.s, ''The Fifteenth Century XII: Society in an Age of Plague'' (Woodbridge, England: Boydell Press, 2013), [http://books.google.com/books?id=MSsRAgAAQBAJ&pg=PA15#v=onepage&q&f=false page 15.]
The name "Black Death" was spread more widely when in 1833, Dr. Benjamin Guy Babington published an English translation of J.F.C. Hecker's book ''Der schwarze Tod im vierzehnten Jahrhundert'' as: J.F.C. Hecker with Benjamin Guy Babington, trans., ''The Black Death in the Fourteenth Century'' (London, England: A. Schloss, 1833).</ref>