ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายพระพุทธบาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{issues|ปรับภาษา=yes|ขาดอ้างอิง=yes}}
{{Infobox rail line
| box_width = 280px
เส้น 11 ⟶ 10:
| end = พระพุทธบาท
| stations = 7
| open = พ.ศ. 2444<ref name="จุฬาลงกรณ์">{{cite web |url= http://www.tri.chula.ac.th/triresearch/prapud/prapud.html |title= ทางรถไฟสายท่าเรือ–พระพุทธบาท |author= สุนันทา เจริญปัญญายิ่ง |date= |work= สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |publisher=|accessdate= 3 พฤศจิกายน 2561 }}</ref>
| open = พ.ศ. 2445
| close = 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2485<ref name="จุฬาลงกรณ์"/>
| close = 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2485<ref name="จุฬาลงกรณ์">{{cite web |url= http://www.tri.chula.ac.th/triresearch/prapud/prapud.html |title= ทางรถไฟสายท่าเรือ–พระพุทธบาท |author= สุนันทา เจริญปัญญายิ่ง |date= |work= สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |publisher=|accessdate= 3 พฤศจิกายน 2561 }}</ref>
| owner = บริษัท รถรางพระพุทธบาททุน จำกัด <small>(2444–2472)</small><ref name="อำนาจ">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 18 |issue= 26 |pages= 410 |title= พระบรมราชโองการ ประกาศพระราชทานอำนาจพิเศษแก่บริษัทรถรางพระพุทธบาททุน จำกัด |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2444/026/410.PDF |date= 29 กันยายน 2444 |language=ไทย}}</ref><ref name="อำนาจ1">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 46 |issue= 0 ก |pages= 367 |title= ประกาศ ถอนพระบรมราชานุญาตซึ่งได้พระราชทานแก่บริษัทรถรางพระพุทธบาททุนจำกัด |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2472/A/367.PDF |date= 2 มีนาคม 2472 |language=ไทย}}</ref><br>บริษัท รถไฟท่าเรือ จำกัด <small>(2474–2485)<ref name="ท่าเรือ">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 48 |issue= 0 ง |pages= 679 |title= แจ้งความกรมรถไฟหลวง เรื่องสร้างและเดิรรถไฟราษฎร์ |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2474/D/679.PDF |date= 31 พฤษภาคม 2474 |language=ไทย}}</ref></small>
| linelength = {{km to mi|20|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}}<ref name="จุฬาลงกรณ์"/>
เส้น 18 ⟶ 17:
}}
 
'''ทางรถไฟสายพระพุทธบาท''' หรือ '''รถรางสายพระพุทธบาท''' บ้างเรียก '''รถไฟกรมพระนรา''' เป็นทางรถไฟราษฎร์หรือทางรถไฟเอกชนสายหนึ่ง ดำเนินกิจการโดยบริษัท รถรางพระพุทธบาท ทุนจำกัด<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 35 |issue= 0 ง |pages= 485 |title= แจ้งความเจ้าพนักงานจดทะเบียนบริษัท เรื่อง บริษัทรถรางพระพุทธบาททุนจำกัด |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2461/D/485.PDF |date= 26 พฤษภาคม 2461 |language=ไทย}}</ref> และบริษัท รถไฟท่าเรือ จำกัดของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]]
 
รถไฟสายนี้เป็นรถไฟหรือรถรางขนาดเล็กเดินรถระหว่าง[[อำเภอท่าเรือ]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] กับ[[อำเภอพระพุทธบาท]] [[จังหวัดสระบุรี]] เป็นระยะทางราว 20 กิโลเมตร เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางสำหรับผู้ไปนมัสการ[[พระพุทธบาท]] ณ [[วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร]] [[จังหวัดสระบุรี]] ถือเป็นเส้นทางรถไฟสำหรับท่องเที่ยวเพื่ออำนวยความสะดวกแก่เจ้านาย และมิได้เกิดขึ้นด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ<ref name="จุฬาลงกรณ์"/>
 
== ประวัติ ==
== รายละเอียดการเดินรถ ==
ทางรถไฟสายพระพุทธบาทก่อตั้งโดย[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] ไม่ปรากฏข้อมูลว่าทางรถไฟสายนี้ก่อสร้างหรือเดินรถเมื่อใด แต่คาดว่าน่าจะเกิดขึ้นช่วง พ.ศ. 2444<ref name="จุฬาลงกรณ์"/> เพราะปรากฏการจัดตั้งบริษัท รถรางพระพุทธบาท ทุนจำกัด โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พร้อมหุ้นส่วนได้แก่ พระยาอภิรักษ์ราชอุทยาน เจ้าหมื่นเสมอใจราช พระนรสาตร์สารกรรม หลวงดำรงธรรมสาร หลวงอุดรภัณฑพานิช และจีนหนีรวมเจ็ดคนได้รับพระบรมราชานุญาตจัดตั้งบริษัท และได้รับพระราชทานอำนาจพิเศษ<ref name="อำนาจ"/>
รถไฟกรมพระนราใช้รางกว้างขนาด 60 ซม. (แต่ 75 ซม. ตาม หลักฐานจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติและซากทางที่โรงน้ำตาลวังกระพี้ซึ่งยกมาจาก สายพระพุทธยาท) หัวรถจักรไอน้ำใช้ความเร็ว 20 กม.ต่อชั่วโมง หัวรถจักรดีเซล ใช้ความเร็ว 30 กม.ต่อชั่วโมง
แต่ละขบวนที่มีพนักงาน 4 คน คือ พขร. 1 คน ช่างไฟ 1 คน (มีหน้าที่เติมน้ำ และฟืน) พนักงานขายตั๋วและตรวจตั๋ว 2 คน (ตั๋วอ่อนแบบฉีก) การซื้อขายตั๋วจะมี การขายตั๋วเฉพาะสถานีท่าเรือกับสถานีพระพุทธบาทเท่านั้น หากขึ้นลงระหว่าง กลางทางก็ต้องซื้อตั๋วกันบนขบวนรถ
 
ในปี พ.ศ. 2445 [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชบริพารเคยประทับรถรางสายพระพุทธบาท เพื่อไปนมัสการ[[พระพุทธบาท]]และพระราชทานกฐิน ณ [[วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร]]<ref name="จุฬาลงกรณ์"/>
ส่วนสถานีระหว่างทางนั้น เป็นเพียงแค่จุดรับ-ส่งผู้โดยสารเท่านั้น ไม่มี นายสถานีและพนักงานประจำอยู่ ส่วนอัตราค่าโดยสารคิดเป็นช่วงๆ
 
ทว่าตลอดระยะเวลาดำเนินกิจการ ได้เกิดปัญหาหลายครั้ง เช่น วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2445 มีการออกตั๋วเงินโดยเอาทรัพย์สมบัติของบริษัทเป็นประกัน โดยอ้างว่าต้องการเงินทุนเพื่อขยายกิจการ<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 19 |issue= 27 |pages= 536 |title= ประกาศ เรื่อง บริษัทรถรางพระพุทธบาททุนจำกัดจะออกตั๋วรับเงินโดยเอาทรัพย์สมบัติของบริษัทเป็นประกัน (ดิเบนเซอ) |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2445/027/536_1.PDF |date= 5 ตุลาคม 2445 |language=ไทย}}</ref> 6 มกราคม พ.ศ. 2449 บริษัทยื่นบัญชีประจำปีต่อกระทรวงเกษตราธิการล่าช้า หากไม่ส่งอาจถูกถอนอำนาจพิเศษ<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 23 |issue= 41 |pages= 1061 |title= ประกาศกระทรวงเกษตราธิการ ว่าด้วยให้บริษัทรถรางพระพุทธบาท ท.จ.ก. ยื่นบาญชีงบปีจำนวน ร.ศ. 124 ในภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ รัตนโกสินทรศก 125 |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2449/041/1061_1.PDF |date= 6 มกราคม 2449 |language=ไทย}}</ref> กระทั่งวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2449 จึงนำส่งบัญชี<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 23 |issue= 44 |pages= 1126 |title= แจ้งความกระทรวงเกษตราธิการ เรื่อง บริษัทรถรางพระพุทธบาทได้ยื่นบาญชี จำนวน ศก 125 แล้ว |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2449/044/1126.PDF |date= 27 มกราคม 2449 |language=ไทย}}</ref> และในที่สุด วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 มีประกาศโปรดเกล้าฯ ให้ถอนพระบรมราชานุญาตพิเศษ ด้วยเหตุเพิกเฉย ละเลย ไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายและประกาศพระราชทานพิเศษหลายครั้ง<ref name="อำนาจ1"/>
==ค่าโดยสาร==
ระยะแรก เก็บตามรายสถานีละ 5 สตางค์ เช่น
 
พ.ศ. 2474 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงมอบหมายให้[[หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ]]พระโอรส ทำสัญญาสัมปทานกับกรมรถไฟหลวงเพื่อเดินรถระหว่างท่าเรือ–พระพุทธบาทอีกครั้งในนามบริษัท รถไฟท่าเรือ จำกัด ตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2474 ถึง 31 มีนาคม พ.ศ. 2494<ref name="ท่าเรือ"/>
{| class="wikitable sortable"
|-
! ต้นทาง
! ปลายทาง
! ราคา
|-
| ท่าเรือ
| บางโขมด
| 5 สตางค์
|-
| ท่าเรือ
| บ่อโศก (สร่างโศก)
| 10 สตางค์
|-
| ท่าเรือ
| หนองคณฑี
| 15 สตางค์
|-
| ท่าเรือ
| เขาเลี้ยว
| 20 สตางค์
|-
| ท่าเรือ
| เจ้าพ่อเขาตก
| 25 สตางค์
|-
| ท่าเรือ
| พระพุทธบาท
| 30 สตางค์
|}
 
อย่างไรก็ตามรถไฟราษฎร์สายนี้ไม่ประสบความสำเร็จด้านรายได้ด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น เป็นเส้นทางระยะสั้น, การเดินทางไปพระพุทธบาทจะมีเฉพาะช่วงเทศกาล และการตัด[[ถนนพหลโยธิน]]ทำให้การเดินทางสะดวกขึ้น ด้วยเหตุผลทั้งหมดนี้บริษัท รถไฟท่าเรือ จำกัดจึงขายหัวรถจักรแก่บริษัท ส่งเสริมอุตสาหกรรมไทย จำกัดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2485<ref name="จุฬาลงกรณ์"/>
แล้วราคาก็ขึ้นเรื่อยๆตามค่าครองชีพ และก่อนเลิกกิจการก็ช่วงสถานีละ 25 สตางค์
 
== การเดินรถ ==
==ผู้จัดการ==
[[ไฟล์:Tharuea1931.jpg|thumb|right|แผนที่เส้นทางรถไฟ]]
{| class="wikitable sortable"
รถไฟสายพระพุทธบาทเป็นรถไฟขนาดเล็ก แต่เดิมใช้หัวรถจักรไอน้ำความเร็วเพียง 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยจะมีสถานีสำหรับเติมน้ำและฟืนคือ สถานีท่าเรือ, เขาเลี้ยว และพระพุทธบาท ต่อมาใช้หัวหัวรถจักรดีเซลความเร็ว 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง<ref name="จุฬาลงกรณ์"/> ตู้โดยสารแบ่งเป็นสองระดับคือชั้นธรรมดา กับชั้นพิเศษที่มีสำหรับเจ้านายหรือบุคคลสำคัญ ภายในประดับตกแต่งสวยงาม มีหน้าต่างกว้างบานใหญ่ติดผ้าม่านอย่างหรู ชายคาติดครุยและตุ้มโดยรอบ เก้ากี้ผ้าผิวมัน และทางเดินปูด้วยพรม<ref name="จุฬาลงกรณ์"/> รถไฟขาไปจะออกจากสถานีพระพุทธบาทในเวลา 06.00 น. ถึงสถานีท่าเรือเวลา 07.00 น. และขากลับจะออกจากสถานีท่าเรือเวลา 15.00 น. และจอดค้างคืนที่สถานีพระพุทธบาท<ref name="จุฬาลงกรณ์"/>
|-
 
! ลำดับที่
รถไฟแต่ละขบวนจะมีพนักงาน 4 คน แบ่งเป็น พนักงานขับรถและช่างไฟ (ผู้เติมน้ำและฟืน) อย่างคน พนักงานขายตั๋วและตรวจตั๋วอีกสองคน<ref name="จุฬาลงกรณ์"/> การซื้อขายตัวจะมีเฉพาะสถานีท่าเรือและพระพุทธบาทเท่านั้น หากขึ้นลงระหว่างทางต้องซ้อตั๋วบนรถ ค่าโดยสารคิดเป็นช่วง สถานีละ 5 สตางค์ แต่ช่วง พ.ศ. 2475 มีอัตราค่าโดยสารสถานีละ 25 สตางค์<ref name="จุฬาลงกรณ์"/>
! พระนาม / ชื่อ
 
! ปีที่ดำรงตำแหน่ง
== เส้นทาง ==
! หมายเหตุ
เส้นทางรถไฟมีระยะทาง 20 กิโลเมตร มีสถานีรายทางทั้งหมด 7 สถานี ได้แก่
|-
| 1
| [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]]
| พ.ศ. 2445 - พ.ศ. 2474
|
|-
| 2
| [[หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ]]
| พ.ศ. 2474 - พ.ศ. 2485
|
|-
| 3
| นายโชติ ยุวสูตร
| พ.ศ. 2474 - พ.ศ. 2485
| ทำงานคู่กับ [[หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ]]
|}
 
==สถานี==
{| class="wikitable sortable"
|-
! ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ
! ชื่อภาษาอังกฤษ
! หมายเหตุ
|-
| ท่าเรือ
| ตั้งอยู่ตรงข้ามธนาคารออมสินสาขาท่าเรือหลังเก่า
| Tha Rua
| อยู่ตรงข้ามกับธนาคารออมสินสาขาท่าเรือหลังเก่า
|-
| บางโขมด
|
| Bang Khamot
| เข้าเขต[[จังหวัดสระบุรี]]
|-
| บ่อโศก (สร่างโศก)
| มีซากสถานีอยู่
| Bor Soke (Srang Soke)
| ปัจจุบันยังมีร่องรอยของตัวสถานีให้เห็นอยู่<br />
|-
| หนองคณฑี
|
| Nhong Khontee
|
|-
| เขาเลี้ยว
| Khao Liao
|
|-
| เจ้าพ่อเขาตก
| Chao Por Khao Tok
|
|-
| พระพุทธบาท
| Phra Phutthabat
| ปัจจุบันคือโรงเจฮกเอี๊ยง
|-
|}
 
== ความล้มเหลวของกิจการ ==
[[ไฟล์:Tharuea1931.jpg|thumb|แผนที่เส้นทางรถไฟ]]
อย่างไรก็ตามแม้พยายามปรับปรุงสักเพียงใดแต่บริการยังไม่น่าพอใจเพราะ มีการพลิกคว่ำ หรือไม่ก็รถขัดข้องกลางทางบ่อยๆ แม้แต่การเดินทางเที่ยวแรกปี 2449 ที่ [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จเปิดเส้นทางก็เกิดการหยุดกลางทาง 2-3 ครั้ง ที่สุด ก็ต้องหยุดให้บริการชั่วคราวปี 2472 และมาทำสัญญาใหม่กะกรมรถไฟหลวงปี 2474
 
อันที่จริง รถไฟสายนี้เคยถูกยกเลิกการเดินรถไปครั้งหนึ่งเมื่อราวๆ ปี 2471 - 2472 ฐานเดินรถไม่ได้มาตรฐาน แถมยังเกิดการขาดทุนอยู่หลายปี ติดๆ กัน จน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์]] ต้องแก้ปัญหาโดยการให้ [[หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ]] โอรสใน [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] ทำ สัญญาสัมปทานใหม่ กับกรมรถไฟหลวง เมื่อปี 2474
 
== การเลิกกิจการ ==
อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนว่ากิจการยังทรงๆ พอ ถนนพหลโยธินไปถึงเมื่องลพบุรี โดยผ่าน อำเภอพระพุทธบาท เมื่อปี 2483 ก็ยิ่งขาดทุนหนัก จนอยู่ไม่ได้ ต้องขายกิจการ ให้บริษัทส่งเสริมอุตสาหกรรมไทย (โรงงงานน้ำตาลวังกะพี้ โรงงานน้ำตาล เกาะ คา โรงงานน้ำตาล กุมภวาปี) เมื่อ 16 กรกฎาคม 2485 แต่มาจ่ายเงิน 5 แสนบาทกันเมื่อปี 2490 เพราะตอนนั้น ทางรถไฟดังกล่าวโดนนำไปใช้ในการสร้างพุทธบุรีมณฑลตามคำสั่งของ[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]
 
กิจการรถไฟกรมพระนรา หรือรถไฟเล็ก ก็ได้เลิกกิจการทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2490 (จริงๆ ได้ทำเรื่องขอเลิกการเดินรถโดยอนุมัติ โดยกระทรวงคมนาคม มาแต่ 16 กรกฎาคม 2485 แต่กว่า บริษัทส่งเสริมอุตสาหกรรมไทย ซึ่งเป็นเจ้าของ โรงงานน้ำตาลวังกระพี้ และ โรงงานน้ำตาลกุมภวาปีจะชำระเงินค่ารางและหัวรถจักร ก็ต่อเมือสิ้นสงครามไปแล้ว) โดยหม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ ได้ขายหัวรถจักรทั้งหมด ให้โรงงานน้ำตาลวังกระพี้ [[จ.อุตรดิตถ์]] และโรงงานน้ำตาลที่[[อ.กุมภวาปี]] [[จ.อุดรธานี]] และ ขายเส้นทางให้กับกรมทางหลวงในราคา 5 แสนบาท
 
== ปัจจุบัน ==
เป็นส่วนหนึ่งของ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3022]] สายท่าเรือ-พระพุทธบาท
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
{{สถานีรถไฟในอดีต}}